Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
จำแนกตามระยะเวลำของการดำเนินกำรคลอด
ความผิดปกติของการคลอดระยะปากมดลูกเปิดช้า
ความผิดปกติของการคลอดระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
การเจ็บครรภ์คลอดที่ช้ากว่าปกติ (protraction disorder)
การเจ็บครรภ์หยุดที่จุดใดจุดหนึ่ง (arrest disorder)
อาการ และอาการแสดงของการคลอดยาก
พบก้อนโนจากการคั่งของน้ำใต้หนังศีรษะทารก (caput succedaneum)
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน ในรายที่ทารกขาดออกซิเจนนาน
อัตราการเต้นหัวใจทารกผิดปกติ (น้อยกว่า 110 ครั้ง/นาที หรือมากกว่า 160 ครั้ง/นาที)
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
การคลอดไม่ก้าวหน้า
ถุงน้ำคร่ำแตก หรือรั่วก่อนที่จะเข้าสู่ระยะคลอด น้ำคร่ำแห้ง (dry labor)
ปากมดลูกบวม (incarcerated cervix)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ หรือทารกตัวโต
สาเหตุของการคลอดยาก
แรงผลักดัน (power)
แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก ของกล้ามเนื้อมดลูกส่วนบนเป็นหลัก
แรงเบ่งของผู้คลอด เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกะบังลม
ควำมผิดปกติของแรงผลักดัน
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ(uterine dysfunction)
สำเหตุที่ท ำให้มดลูกหดรัดตัวผิดปกต
อายุ
ผู้คลอดที่อายุมาก มักจะเกิดภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
จำนวนครั้งของการคลอด
อายุครรภ์
การตั้งครรภ์ผิดปกติ
หนทางคลอด (passages)
หนทางคลอดส่วนที่เป็นเนื้อเยื่ออ่อนผิดปกติ
กระดูกเชิงกรานผิดปกติ
ขนาดกระดูกเชิงกราน ตามระดับของเชิงกราน
ลักษณะปุ่มกระดูกที่ยื่นเข้ามาในช่องเชิงกราน
ลักษณะเชิงกราน
ความผิดปกติของกระดูกเชิงกราน
สิ่งที่คลอดออกมา (passengers)
ความผิดปกติด้านทารก
ทารกอยู่ในแนวเฉียง (oblique lie) หรือท่าขวาง (transverse lie)
ส่วนนำของทารกที่ไม่ใช่ศีรษะ
ท่าของทารกไม่ใช่ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหน้าของเชิงกราน
ความผิดปกติของรก
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
ปริมาณของน้ำคร่ำผิดปกติ
น้ าคร่ าน้อย (oligohydramnios) หรือน้ าคร่ ามาก
(polyhydramnios)
ภาวะจิตสังคมของผู้คลอด (psychosocial condition)
ภาวะร่างกายของผู้คลอด (physical condition)
ท่าของผู้คลอด (position of mother)
ความหมาย
การคลอดยาก หรือ การคลอดลำบาก
การคลอดที่มีคุณลักษณะไม่เป็นไปตามการคลอดปกติ (dysfunctional labor) เกิดการคลอดติดขัด
หยุดชะงัก (obstructed labor) หรือใช้เวลาการคลอดยาวนาน ล่าช้า (prolonged labor)
การคลอดติดขัด
การคลอดที่ไม่สามารถดำเนินต่อไปได้ตามปกติ
และจำเป็นต้องแก้ไข หากไม่แก้ไขจะคลอดไม่ได้
การคลอดเนิ่นนาน
การคลอดยากที่มีการเจ็บครรภ์คลอดนานกว่า24 ชั่วโมง
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อผู้คลอด
ภาวะเครียด ความเหนื่อยล้า ภาวะคับขัน (maternal distress) และหมดแรง
เกิดภาวะขาดน้ า (Dehydration) และภาวะไม่สมดุลของเกลือแร่ (electrolyte imbalance)
เกิดภาวะเลือดเป็นกรด (Ketoacidosis)
ระดับน้ าตาลกลูโคสในเลือดต่ าลง (Hypoglycemia)
การติดเชื้อ (intrapartal infection)
การบาดเจ็บต่อหนทางคลอด (birth canal trauma)
ตกเลือด (hemorrhage)
ความเสี่ยงจากการท าสูติศาสตร์หัตถการ และการให้ยา
ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดภายหลัง
ผลกระทบต่อทารก
ภาวะคับขัน (fetal distress)
การส าลักน้ าคร่ า
การติดเชื้อของทารกในทางเดินหายใจ สะดือ ตา และหู จากภาวะเยื่อหุ้มทารกอักเสบติดเชื้อ
บาดเจ็บจากการคลอด (birth injury)
ภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกคลอด (noenatal complication)
การตายของทารกปริก าเนิด
วิธีกำรช่วยคลอดไหล่ติด
suprapubic pressure
การใช้ก าปั้นกดเหนือหัวหน่าวตรงๆ หรือกดด้านข้าง ผลักไหล่ไป
ทางหน้าทารกพร้อมๆ
McRoberts’ maneuver
การยกขาผู้คลอดทั้ง 2 ข้าง งอพับข้อสะโพกและข้อเข่า ให้หัว
เข่าชิดหน้าท้องมากที่สุด
Wood’s corkscrew maneuver
การใส่มือไปด้านหลังของไหล่หลังทารก แล้วผลักไหล่
หลังไปด้านหน้า 180 องศา แบบ corkscrew
Rubin maneuver (Reverse woods)
การใช้มือกดด้านหลังของไหล่หน้าทารกมาด้านหน้า
Gaskin maneuver หรือ all-fours position
คือการจัดผู้คลอดอยู่ในท่ามือ 2 ข้าง ยันพื้น
และคุกเข่า 2 ข้าง ท าให้ไหล่หลังเคลื่อนต่ าลง
การพยาบาลผู้คลอดที่มีการคลอดเฉียบพลัน
จัดท่านอนตะแคงซ้าย
สอนเทคนิคการหายใจ หอบ เร็ว ลึก และการผ่อนคลาย
ช่วยนวดหลัง และต้นขา
ระยะหลังคลอด คลึงมดลูก ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ใช้เทคนิคการหายใจ เพ่งจุดสนใจ ลูบหน้าท้อง ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ให้ยาแก้ปวด ตาม
แผนการรักษา ถ้าเจ็บปวดมากพักไม่ได้
กระตุ้นให้ลุกเดินนอนตะแคงหรือศีรษะสูง
การพยาบาลระยะหลังคลอด
ตรวจการฉีกขาดของหนทางคลอดและเย็บซ่อมแซม
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกหลังคลอด
ดูแลกระเพาะปัสสาวะ และบริเวณแผลฝีเย็บ
ให้ได้รับสารน้ าและอาหารอย่างเพียงพอ
ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้คลอด
ให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน