Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
TETANUS, นางสาวมุทิตา แสงเรือง เลขที่ 61
รหัสนักศึกษา 621801064 - Coggle…
TETANUS
พยาธิสภาพของโรค
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ชื่อ Clostridium tetani ซึ่งอาศัยอยู่ในดิน ในลำไส้และมูลของสิ่งมีชีวิต และพบได้ในสิ่งแวดล้อม เชื้อมีคุณสมบัติในการสร้างสปอร์ (Spore) ที่ทนทานต่อความร้อน เชื้อเจริญเติบโตได้ดีในภาวะที่ไม่มีออกซิเจน
เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล โดยเฉพาะบาดแผลที่ลึกและมีการฉีกขาดของเนื้อเยื่อ หรือมีเลือดออก เช่น ตะปูตำ เสี้ยนไม้ตำ บาดแผลฉีกขาด บาดแผลที่ปนเปื้อนดิน หรือเศษวัสดุแปลกปลอม นอกจากนี้อาจพบการติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทำแท้งโดยกระบวนการที่ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานทางการแพทย์
เมื่อเชื้อบาดทะยักเข้าไปในบาดแผลแล้ว จะสร้างสารพิษชื่อ Tetanus toxin สารพิษนี้จะเข้าสู่ระบบประสาท ลามไปตามเส้นประสาท ไขสันหลัง และอาจไปถึงก้านสมองบางส่วน
-
อาการ
-
-
-
มีอาการหดเกร็งและแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อบริเวณคอ หน้าอก หน้าท้อง หลัง แขนขา ทำให้มีอาการคอแข็ง ท้องเเข็ง หลังแอ่น
เมื่อถูกสิ่งกระตุ้น เช่น การถูกสัมผัสตัว แสงสว่างเข้าตา (เช่น แสงแดด แสงไฟจ้า)หรือได้ยินเสียงดังๆผู้ป่วยจะมีอาการชักเกร็งของแขนขนและกล้ามเนื้อทุกส่วนเป็นพักๆ
-
มีไข้เหงื่อออก คือผู้ป่วยจะรู้สึกหนาวสั่น แต่ร่างกายนั้นจะมีอุณหภูมิสูงและมีเหงื่อไหลออกมาอยู่ตลอดเวลา
กลไกการก่อโรค
โรคบาดทะยักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียคลอสตริเดียม เตตานิ ( Clostridium Tetani ) เชื้อชนิดนี้
สามารถสร้างสปอร์ที่มีความทนทานต่อความร้อนแห้งแล้ง พบได้ในลำไส้ของคนและสัตว์ในสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้อนด้วยมูลสัตว์เชื้อจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล เชื้อจะเจริญเติบโตได้ดีในแผลลึก อากาศเข้าไม่ได้ดี เช่น บาดแผลตะปูตำ แผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ผิวหนังถลอกบริเวณกว้าง บาดแผลในปาก ฟันผุ หรือเข้าทางหูที่อักเสบ โดยการใช้เศษไม้ หรือต้นหญ้าที่มีเชื้อโรคนี้ติดอยู่แคะฟันหรือแยงหู บางครั้งอาจเข้าทางลำไส้ได้
-
-
การรักษา
-
-
-
-
-
-
ดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก และให้ยาต้านพิษ โดยการฉีดอิมมูนโกลบูลินต้านพิษบาดทะยัก 500 ยูนิต เข้ากล้ามเนื้อครั้งเดียว
ให้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ เพนิซิลลินจี 102 ล้านยูนิต ฉีดเข้าหลอดเลือดดำทุก 6 ชั่วโมง เด็กให้ขนาด 1000,000 - 200,000 ยูนิต/กก./วัน แบ่งให้ทุก 4 ชั่วโมง )
ให้ยา เมโทรไนดาโซล (ย4.8) 500 มก. ทุก 6 ชั่วโมง (เด็กให้ขนาด 30 มก./กก./วัน แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง) Cufg-hks]vfgnvffeoko 7 - 10 วัน
-
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนรวมป้องกันคอตีบ บาดทะยัก และไอกรน (DTP) ตั้งแต่อายุได้ 2 เดือน ถ้าไม่เคยฉีดตอนเด็ก ควรฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักให้ครบตามกำหนด และควรฉีดกระตุ้นทุกๆ 10 ปี
-
-
เมื่อมีบาดแผลตะปูตำ หนามตำ สัตว์กัด ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก กรือบาดแผลสกปรก ควรชะล้างทำความสะอาดด้วยน้ำสะอดกับสบู่ทันที และพิจารณาให้ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
-
-
-