Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การพยาบาลผู้คลอดที่มี ความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle…
บทที่5
การพยาบาลผู้คลอดที่มี
ความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
สาเหตุ
Power แรงผลักดันผิดปกติ
การหดรัดตัวของมดลูกที่อ่อนเกินไป
โดยเฉลี่ยน้อยกว่า 25 มิลลิเมตรปรอทหรือfrequency น้อยกว่า 2 ครั้งใน 10 นาที
ลักษณะทางคลินิกที่ตรวจพบ
มดลูกมีการหดรัดตัวเป็นระยะแต่ไม่แรงพอ duration < 40 วินาทีinterval > 3 นาทีfrequency น้อยกว่า 2 ครั้งใน10 นาทีintensity = +1 – +2
หลักการพยาบาล
CPD or fetal distress เตรียมผู้คลอดเพื่อ C/S
ดูแลให้ได้ยา oxytocin ตามแผนการรักษา
และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง (กระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะ)
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอ
การหดรัดตัวของมดลูกที่แรงเกินไป
โดยเฉลี่ยมากกว่า50 มิลลิเมตรปรอทห รือinterval น้อยกว่า2 นาที
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติชนิดหดรัดตัวไม่คลาย
Bandl’s ring
สาเหตุ
-Obstructed labour
-oxytocin infusion
-Abruptio placenta
ลักษณะทางคลินิกที่ตรวจพบ
มดลูกหดรัดตัว duration > 60 วินาทีinterval < 90 วินาที
หลักการพยาบาล
ถ้ามีเลือดสดๆ ออกทางช่องคลอดหรือมีอาการช็อคจากการเสียเลือด
สังเกตอาการเตือนว่ามดลูกใกล้จะแตก
ถ้าผู้คลอดได้รับยา oxytocin
-หยุดยา นอนตะแคงซ้าย
-ประเมินการหดรัดตัวมดลูก และ FHS ถ้าไม่ดีขึ้นรายงานแพทย์
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก
ลักษณะทางคลินิกทีตรวจพบ
เกิดเหนือปากมดลูกขึ้นไปประมาณ 7-8 เซนติเมตร มดลูกจะหดรัดตัวแรง และไม่สม่าเสมอ มักพบในการคลอดทีเนิ่นนาน
สาเหตุ
การใช้oxytocin กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
Oligohydramnios PPROM เป็นเวลานาน
หลักการพยาบาล
•ดูแลผู้คลอดได้รับยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
•ถ้าผู้คลอดได้รับยาoxytocin หยุดยานอนตะแคงซ้ายให้ออกซิเจน
•ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำให้เพียงพอความสุขสบายทั่วไป
•เตรียมช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการเปิดหมดถ้าปากมดลูกเปิดไม่หมดให้เตรียมผู้คลอดเพื่อC/S
แรงเบ่งของผู้คลอดไม่เพียงพอ (Poor bearing down effort)
สาเหตุ
-ไม่มีประสบการณ์ในการคลอดมาก่อน
-มีอาการอ่อนล้าจากเจ็บครรภ์อดนอน อดอาหาร
-ได้รับยาระงับปวดเร็วเกินไปหรือมากเกินไป
หลักการพยาบาล
ระยะที่หนึ่งของการคลอด
-ดูแลให้ผู้คลอดใช้เทคนิคเผชิญความเจ็บปวดอย่างมีประสิทธิภาพ
-ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดด้าให้เพียงพอ
ในระยะที่สองของการคลอด
-สอนวิธีเบ่งคลอดทีถูกต้อง และกระตุ้นให้ผ้คลอดปฏิบัติตาม
-เตรียมช่วยเหลือผู้คลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการที่เหมาะสม
Passage ช่องทางคลอดหรืออุ้งเชิงกรานผิดปกติ
เชิงกรานแคบ(pelvic contraction)
สาเหตุ
-การเจริญเติบโตของช่องเชิงกรานผิดปกติ
-เชิงกรานเจริญเติบโตไม่เต็มที่ในผู้คลอดที่อายุน้อยกว่า 18 ปี
-กระดูกเชิงกรานแตกหรือร้าวจากอุบัติเหตุูหรือกระดูกเชิงกรานหัก
เส้นผ่านศูนย์กลางตรงของช่องเข้า(obstetric conjugate) น้อยกว่า10 เซนติเมตร
และเส้นผ่าศูนย์กลางขวาง(transverse diameter) น้อยกว่า12 เซนติเมตร
ลักษณะทางคลินิกที่ตรวจพบ
ตรวจพบในระยะตั้งครรภ์เมื่ออายุครรภ์มากกว่า36สัปดาห์ในครรภ์แรกที่ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำจระดับส่วนนพบว่า าไม่มีengagement หรือเกิดได้ยากหรือตรวจทางหน้าท้องมักพบhigh of fundus ≥ 35 cm
แนวทางการดูแลรักษา
เฝ้าระวังผู้คลอดที่มีทางเข้าเชิงกรานแคบต้องระมัดระวังคลอดให้ดีถ้าพบความผิดปกติระหว่างเฝ้าคลอด เช่น มดลูก หดรัดตัวไม่ดีหรือ fetal distress รายงานแพทย์และเตรียมทำ C/S ทันที
Passenger ท่าหรือรูปร่างทารกผิดปกติ
แนวทางการดูแลรักษา
•ติดตามFHS โดย external FHR monitoring
•การคลอดทางช่องคลอด: ไม่มีpelvic contraction และทารกอยู่ในท่า MAP (mentum or chin anterior position)
•การคลอดโดย caesarean section: ทารกมีภาวะ fetal distress และทารกอยู่ในท่าMPP (mentum or chin posterior position
ชนิดของทารกส่วนนำท่าก้น
1.Frank breech (extended breech) คือต้นขาจะพับแนบอย่กับหน้าท้อง เข่าทั้งสองข้างเหยียดตรงเอาเท้าพาดไปบริเวณหน้าอกหรือหน้าของทารกเองพบได้ร้อยละ70 ของทารกส่วนนำเป็นก้น
2.Complete breech (flexed breech, full breech, double breech)
คือท่างอสะโพกและงอเข่าทังสองข้าง พบได้ร้อยละ5
3.Incomplete breech คือสะโพกหรือเข่าหรือทังสอง้ อย่างมีการงอไม่เต็มที่พบได้ร้อยละ25 เช่นsingle footing, double footing, footing-frank, kneeling presentation
Psycho Physical สภาพจิตใจและสภาพทางกาย และ Position ท่าของผ้คลอดไม่เหมาะสม
ปัจจัยที่มีอิทธิพลทำให้เกิดปัญหาด้านจิตใจ
•ไม่เคยมีประสบการณ์ในการคลอดมาก่อน
•มีประสบการณ์ที่ไม่ดีในการคลอดที่ผ่านมา
•การรับรู้ต่อปัญหาของตนเองไม่ถูกต้อง
• รูปแบบการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
•ความไม่พร้อมขณะตั้งครรภ์
ภาวะร่างกาย (physical condition)
•ลักษณะรูปร่างสัดส่วนของร่างกายสูงเตี้ยตัวเล็ก ความพิการ
•สภาพของผู้คลอดได้แก่อ่อนเพลียเหนื่อยล้าหมด แรง ขาดน้ำทำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดีแรง เบ่งคลอดน้อยส่งผลให้เกิดการคลอดยาวนาน และเกิดการคลอดล่าช้าได้
ท่าผู้คลอด (position of mother)
•ท่ามีผลต่อแรงหดรัดตัวของมดลูกแรงเบ่งขนาดเชิงกราน การเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
•การหมุนของศีรษะเอาท้ายทอยมาอยู่ทางด้านหน้าของช่องเชิงกรานท่านอนหงายราบจะทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนต่ำของทารก :
อาการและอาการแสดงของการคลอดยาก
พบก้อนโนจากการคั่งของน้ำใต้หนังศีรษะทารก (caput succedaneum) กระดูกศีรษะทารกเกยกันมากกว่าปกติ(mark molding) เนื่องจากถูกบีบจากช่องทางคลอด
น้ำคร่ำมีขี้เทาปนในรายที่ทารกขาดออกซิเจนนาน
อัตราการเต้นหัวใจทารกผิดปกติ(น้อยกว่า110 ครั้ง/ นาทีหรือมากกว่า160 ครั้ง/นาที)
ปากมดลูกบวม(incarcerated cervix) เนื่องจากส่วนนำของทารกมากด
หลักการพยาบาล
การป้องกันมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
กระตุ้นให้ลุกเดินท่าอนศีรษะสูงpain management
การพยาบาลผู้คลอดในระยะคลอด
สอนเบ่งที่ถูกวิธีเพราะการเบ่งที่ถูกต้องทำให้เพิ่มในโพรงมดลูก2-3 เท่า
-
ผู้คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ
ติดตามประเมินการเข้าสู่ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
กระตุ้นให้ผู้คลอดถ่ายปัสสาวะไม่กลั้นปัสสาวะ
สังเกตอาการเตือนของภาวะมดลูกแตก
ผู้คลอดที่มีแรงเบ่งผิดปกติส่งเสริมให้เบ่งคลอด อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
-
การพยาบาลผู้คลอดที่ทารกผิดปกติ
ประเมินสภาวะทารก
ให้ออกซิเจนมาสก์10 ลิตร/นาทีถ้าอัตราการเต้นหัวใจทารกผิดปกติพบขี้เทาในน้ำคร่ำและทารกดิ้นน้อยลง
-
การพยาบาลผู้คลอดมีภาวะคลอดไหล่ยาก
รีบขอความช่วยเหลือจากแพทย์เรียกทีมช่วยเหลือตามกุมารแพทย์และวิสัญญี
ควรตัดฝีเย็บให้กว้างมากขึ้น
วิธีการช่วยคลอดไหล่ติดsuprapubic pressure
McRoberts’ maneuver
การคลอดยาก / คลอดลำบาก(dystocia)
ความหมายการคลอดที่ไม่เป็นไปตามปกติ ทุกความก้าวหน้าการคลอดล่าช้า หยุดชะงัก ไม่ตามกราฟการคลอดปกติ
ชนิดของการคลอดยาก
-Obstruct labor การคลอดด าเนินต่อไปไม่ได้
-Prolonged labor การคลอดล่าช้ามากกว่า24 ชม
ชนิดของการคลอดยากตามปัจจัยการคลอด
Uterine dysfunction มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Poor bearing down effort แรงเบ่งไม่ดี
Abnormal passages หนทางคลอดผิดปกติ
Fetal dystocia ทารกผิดปกติ
CPD ศรีษะทารกและช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
เกณฑ์วินิจฉัย
ระยะการคลอด Latent phase
ครรภ์แรก มากกว่า20 ชม. ครรภ์หลัง มากกว่า14 ชม.
ระยะการคลอด Active phase
ครรภ์แรก มากกว่า12 ชม.Cx. เปิดน้อยกว่า1.2 cmครรภ์หลัง มากกว่า6 ชม.Cx. เปิดน้อยกว่า1.5 cm
อันตรายและภาวะแทรกซ้อน
การคลอดยากต่อผ้คลอด
-อ่อนเพลียหน็ดเหนื่อย และหมดแรง (Exhaustion)5
-ขาดน้ำ (Dehydration) และภาวะความไม่สมดุลของเกลือแร่(Electrolyte imbalance)
-เกิดการฉีกขาดของช่องทางคลอด(Birth canal trauma)
-ตกเลือด(Haemorrhage)
-มดลูกแตก (Uterine rupture)
การคลอดยากต่อทารก
-ทารกอย่ในภาวะคับขัน (fetal distress)
-ได้รับอันตรายจากการคลอด (Birth injury)
-Perinatal death