Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่งพระราชอำนาจกษัตริย์, ไชยกาญจน์ ตาคำ เลขที่ 19 ม 4/7 - Coggle…
รากฐานแห่งพระราชอำนาจกษัตริย์
การสนับสนุนและความจงรักภักดีของกลุ่มบุคคล
กลุ่มชนชั้นสูง
พระราชวงศ์
คือ พระญาติที่ใกล้ชิดของกษัตริย์ เป็นกำลังสำคัญในการค้ำจุนและชิงบัลลังก์
ในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้นจะส่งเจ้านายที่ไว้ใจไปครองเมืองสำคัญ
อยุธยาตอนกลางได้ยกเลิกระบบกินเมืองเพื่อรวบรวมกำลังพลมาช่วยในราชธานี
มีการสถาปนาพระอิสริยยศในสมัยต่างๆ
สมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น
พระรามคำแหง
พระบรมปาล
พระราเมศวร
พระอินทรราชา
สมัยอยุธยาตอนกลาง
สมเด็จหน่อพุทธางกูร
พระอุปราช
สมัยรัตนโกสินทร์
พิจารณาจากสกุลยศเดิม
ขุนนาง
กลุ่มที่รับราชการเป็นกลไกในการบริหารประเทศแทน
ต้องเป็นผู้ที่มีจิตใจดี ไม่มุ่งร้าย
ยกตัวอย่าง
สมุหกลาโหม
สมุหนายก
กลุ่มผู้ถูกปกครอง
ไพร่
ราษฏรที่มีศักดินา 25 ไร่
มีหน้าที่รับใช้ราชการตามกลุ่ม
ไพร่ที่อยู่ไกลสามารถใช้วิธีส่งส่วยให้ทางการแทนการเกณฑ์
ทาส
เป็นกลุ่มที่มีสถานภาพต่ำสุดในสังคม
ไม่มีอิสรเสรี
ในร 3 ได้มีการจ้างแรงงานจากประเทศจีนแทนการไพร่
ร 5 ได้ยกเลิกระบบทาส ไพร่
พ่อค้า
ไทยถือว่ามีชาวต่างชาติเข้ามาค้าขายมาก
พ่อค้าต่างชาติมีการาจัดตั้งกองแรงงานใช้ ค่าผูกปี้ ในการจ่ายทดแทน
พ่อค้าต่างชาติมีบทบาททางการเมืองมาก
มีหน้าที่สร้างรายได้ให้ประเทศ
กลุ่มสมณพราหมณ์
พราหมณ์
มีหน้าที่ประกอบพิธีกรรม รวมทั้งเป็นขุนนางประจำราชสำนัก
ยกตัวอย่างบทบาทหน้าที่
พระมหาราชครู
โหราจารย์
พระภิกษุสงฆ์
มีบทบาทช่วยเสริมสร้างความมั่นคงของกษัตริย์
เป็นผู้สืบทอดศาสนา เผยแผ่หลักธรรมแก่ประชาชน
อิทธิพลและการสนับสนุนจากลัทธิศาสนา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ด้านการปกครอง
(สมมติเทพ)
ถือกษัตริย์เป็นเทพเจ้า
ก่อนจะเป็นเทพต้องผ่านพิธีกรรม
สมมติยาภิเษก
มีคณะพราหมณ์ทำพิธีให้
คณะพราหมณ์มีตำแหน่งราชการในอยุธยา และยังได้รับศาสนสถานจากพระมหากรุณาธิคุณอีกด้วย
พระพุทธศาสนา
ทั้งเถรวาทและมหายานได้เผยแผ่เข้ามาในประเทศไทยพร้อมศาสนาพราหมณ์
สมัยสุโขทัยกษัตริย์ได้รับอิทธิพลพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทจากนครศรีธรรมราช
แนวคิดพระพุทธศาสนาช่วยเสริมเสถียรภาพทางการเมืองของกษัตริย์
หลักธรรมที่สำคัญของกษัตริย์
ทศพิธราชธรรม
จักรวรรดิวัตร
ราชจรรยานุวัตร
ไชยกาญจน์ ตาคำ เลขที่ 19 ม 4/7