Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ และพฤติกรรมเชิงพื้นที - Coggle Diagram
ปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ และพฤติกรรมเชิงพื้นที
ปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Spatial interaction)
หมายถึง การเคลื่อนไหวของผู้คน ความคิด และสินค้า
ความสามารถในการโยกย้าย (Transferability)
การที่ต้นทุนในการโยกย้ายเป็นที่ยอมรับได้ในการแลกเปลี่ยน โดยความสามารถในการโยกย้ายเป็นการแสดงออกถึงการเคลื่อนที่ของสินค้า
ระยะทาง
ความสามารถของสินค้าที่จะก่อให้เกิดต้นทุนในการเคลื่อนที่
คุณลักษณะ
โอกาสแทรกแซง (Intervening Opportunity)
ทําให้เกิดการลดลงของต้นทุนในการขนส่ง และก่อให้เกิดความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
การเสนอสนองต่อกัน (Complementarities)
ปฏิสัมพันธ์ของสถานที่สองแห่งที่เกิดขึ้นจากการที่สถานที่แห่งหนึ่งที่มีอะไรบางสิ่งบางอย่างที่อีกสถานที่หนึ่งต้องการ
พฤติกรรมเชิงพื้นที่ของมนุษย์ (Spatial Behavior)
ลักษณะพฤติกรรมเชิงพื้นที
พื้นที่กิจกรรมของบุคคล (Individual Activity Space)
ช่วงเวลาของชีวิต (Stage in life) หรือช่วงอายุ
ความสามารถในการเคลื่อนที่ (mobility or the ability to travel)
ความต้องการ หรือโอกาสในกิจกรรมประจําวัน
เวลากับพฤติกรรมเชิงพื้นที่
ระยะทางและปฏิสัมพันธ์มนุษย์
ข้อมูลข่าวสารและการรับรู้
การรับรู้ของสิ่งแวดล้อม
การรับรู้ภัยธรรมชาติ
พฤติกรรมการเคลื่อนที
การเคลื่อนที่ประจําวัน (daily mobility) หรือ ชั่วคราว (temporary mobility)
การเคลื่อนที่ที่ยาวนานกว่า และถาวร
การวัดปฏิสัมพันธ์เชิงพื้นที่ (Measuring Interaction)
แนวคิดเรื่องแรงโน้มถ่วง (The gravity concept)
ข้อสังเกตเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างศูนย์กลางเมือง
ข้อสังเกตที่ว่าเมืองใหญ่ดูเหมือนจะดึงดูดบุคคลได้มากกว่าหมู่บ้านเล็ก ๆ
สมรรถภาพเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interaction potential)
การเสื่อมถอยของระยะทาง (Distance decay)
อัตราของการเสื่อมถอยของระยะทางผันแปรกับประเภทของกิจกรรม
การเสียดสีที่เกิดจากระยะทางลดลงอันเนื่องมาจากต้นทุนที่ต่ำลง ความสะดวกในการเคลื่อนที่ หรือการไหล
กิจกรรมของมนุษย์ในที่ต่าง ๆ ได้รับอิทธิพลจากการเสียดสีของระยะทาง
ความลําเอียงเชิงการเคลื่อนที่ (movement biases)