Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Problem Solving Technique กระบวนการแก้ไขปัญหา, นางสาววิจิตรา ขันตี…
Problem Solving Technique
กระบวนการแก้ไขปัญหา
วัตถุประสงค์ในการเรียน
1.เข้าใจความสำคัญของการแก้ปัญหาตามพื้นฐานสำหรับการจัดการแบบเด็นโซ่ต่อการทำงาน
2.เข้าในกระบวนการของการแก้ปัญหา
3.เพื่อให้เข้าใจแนวคิดของวงจร PDCA และมีทักษะเพิ่มในการคิดเชิงตรรกะ
แนวคิดของตรงไหนคือปัญหา
การระบุปัญหา
การแก้ไขปัญหาเริ่มต้นจากการระบุปัญหา
ปัญหาคือช่องว่าง (gap) ระหว่างสภาพที่อยากให้เป็นกับสภาพปัจจุบัน ปัญหาเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดสภาพที่อยากให้เป็นของเรา
สภาพที่อยากให้เป็นคือสิ่งที่ลูกค้าของเราหรือกระบวนการถัดคาดหวังเป็นอย่างสูง
การสำรวจสภาพปัจจุบัน
คำว่า “ยอดขายตก” ยังไม่ชัดเจน ต้องคิดต่อว่าส่วนไหนควรจะต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับแรกก่อน
ก่อนที่จะไปยังขั้นตอนถัดไป ต้องระบุเหตุผลจนยอมรับให้ได้ก่อนว่า “ทำไมคุณถึงเชื่อว่าสิ่งที่คุณเลือกนั้นเป็นปัญหา ทำไมถึงไม่ใช่สิ่งอื่น”
กำหนดเป้าหมาย
ขั้นตอนสุดท้ายของ “where” คือการกำหนดเป้าหมาย เป้าหมายจะต้องกำหนดบนปัญหาที่เฉพาะเจาะจง
เป้าหมายต้องเป็นรูปธรรมและเป็นเชิงปริมาณ กำหนด “เท่าไร” “อะไร” และ “ภายในเมื่อไร” ให้ชัดเจน
How thinking
จุดอ่อนของ “How thinking”
ไปไม่ถูกทางเนื่องจากจุดมุ่งหมายไม่ชัดเจน
ความพยายามอาจจะไม่เป็นผลเพราะขาดการเชื่อมโยงระหว่างปัญหาและสาเหตุ
ไม่สามารถหาทางออกอื่นได้เมื่อเจออุปสรรคหรือทางตัน
ยึดติดอยู่กับ “มาตรการแก้ไข” นั้นๆ โดยไม่สามารถมองทางออกอื่นๆ ได้อีกเมื่อเจอทางตัน
ผลลัพธ์ของการคิดในแบบ“How” thinking
การกระทำที่ไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
เมื่อไม่มีการดำเนินการเพิ่มเติมที่จะสามารถทำให้บรรลุได้และมันไม่แก้ปัญหา, เหตุการณ์ความล้มเหลวไม่สามารถหลบหลีกได้
ไม่มีทางที่เป็นไปได้เพื่อจำกัดหรือตัดการกระทำที่เป็นไปได้
อะไร คือ “How thinking”?
1. ลงมือปฏิบัติ ก่อนที่จะคิดอย่างรอบคอบ
2. ลงมือปฏิบัติตามสิ่งที่มีคนบอกให้ทำ
ความสัมพันธ์ระหว่างการไหลของแผน (Plan) และการคิดเชิงตรรกะ
มีสิ่งใดถูกมองข้ามหรือซ้ำซ้อนหรือไม่
ปัญหาที่เลือกมามีความเหมาะสมหรือไม่
ความสัมพันธ์ของเหตุและผลนั้นเหมาะสมหรือไม่
มาตรการแก้ไขถูกเสนอและคัดเลือกอย่างเหมาะสมหรือไม่
การจัดการแบบเด็นโซ่ต่อการทำงาน
“The DENSO Approach to Working” คือแนวคิดพื้นฐาน, เครื่องมือ และกระบวนการที่ถูกใช้เพื่อการปฎิบัติงานประจำในแต่ละวันเพื่อให้เป็นไปอย่างประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด
DAW คือแบบฉบับการปฏิบัติงานในแบบของเด็นโซ่ซึ่งเอา DENSO Spirit เข้าไปด้วย
PDCA (Plan–Do–Check–Action)
ขั้นตอน 1: Plan
• กำหนดแผนการ
ขั้นตอน 2: Do
• ดำเนินการตามแผน
ขั้นตอน 3: Check
• ตรวจสอบผลลัพธ์
ขั้นตอน 4: Action
• นำผลลัพธ์มากำหนดเป็นมาตรฐานและนำความคิดไปขยายผลต่อ
ตรรกะเชิงแนวตั้งและแนวนอน
ตรรกะเชิงแนวนอน
ต้องทำให้แน่ใจว่าไม่มีสิ่งที่ตกหล่น
ต้องทำให้แน่ใจว่าไม่มีส่วนที่ซ้ำซ้อนเกินมา
ตรรกะเชิงแนวตั้ง
ข้อกล่าวอ้างต้องมีเหตุผล
เหตุผลต้องเหมาะสม
ข้อกล่าวอ้างต้องมีเหตุผลอย่างเพียงพอ
WHERE ปัญหาอยู่ที่ไหน
1.การแก้ปัญหาคือสิ่งสำคัญของการทำงานแบบเด็นโซ่
2.ปัญหาที่ถูกระบุนั้นคือความต่างระหว่าง “สภาพปัจจุบัน” และ “สภาพที่ควรจะเป็นในอุดมคติ”
3 แนวทางเพื่อจัดการกับปัญหา
• แก้ปัญหาที่มองเห็น
• การแก้ไขปรับปรุงล่วงหน้า / ป้องกันปัญหา
• คิดหานวัตกรรมใหม่เพื่อสนองต่อต้องการในอนาคต
4.มันเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องคิดตามแนวคิดของ “What”, “Why”, และ “How” แทนที่จะคิดเพียงการคิด “How” อย่างเดียว
WHY ทำไมปัญหาถึงเกิดขึ้น
ขั้นตอนของการแก้ไขปัญหามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ให้เริ่มขั้นตอนของ “Why” จากปัญหาที่คุณได้ระบุมาจากขั้นตอนของ “Where” เสมอ
เมื่อคิดถึงสาเหตุในขั้นตอนของ “Why”…
ให้คิดอย่างไม่ตกหล่นและไม่ซ้ำซ้อนโดยปราศจากอคติ
ซื่อสัตย์กับตัวเองและคิดอย่างมุ่งมั่น ทวนซ้ำ why และคิดให้ลึกลงไปเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง
ต้องปฏิบัติงานจริงในการตรวจสอบที่หน้างานจริง ไม่มีประโยชน์อะไรที่จะหาเหตุผลให้กับสถานการณ์ที่ไม่เป็นจริง
HOW จะจัดการกับปัญหาอย่างไร
การเลือกมาตรการแก้ไข
ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน เมื่อคิดถึง “How” ต้องตรวจสอบด้วยว่า คุณกำลังวางมาตรการแก้ไขให้แก่สาเหตุที่แท้จริงอันไหนที่ระบุได้มาจากขั้นตอนของ “Why”
เป็นเรื่องสำคัญมากที่จะทวนสอบอีกครั้งว่ามาตรการแก้ไขของคุณช่วยแก้ปัญหาจริงหรือไม่ ถ้ามาตรการแก้ไขนั้นดูเหมือนจะไม่ได้ผล ให้ลองย้อนกลับและทบทวนว่าขั้นตอนไหนที่คุณหลุดออกจากเส้นทางที่ถูกต้อง
นางสาววิจิตรา ขันตี B5926213