Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด -…
บทที่9การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solutionจะมีความเข้มข้นเท่ากับน้ำนอกเซล
Hypertonic Solutions สารละลายชนิดที่มีแรงดันออสโมติก มากกว่า blood serum
Hypotonic Solutionsสารละลายชนิดนี้มีความเขม้ข้นของ โซเดียมคลอไรด์เป็นคร่ึงหน่ึงของสารละลาย Isotonic
ขนาดของสารน้ำ
สารน้ำที่ใช้โดยทั่วไปมีขนาด 500 มิลลิลิตร หรือ 1000 มิลลิลิตร
สารน้ำ ขนาด 50มิลลิลิตร 100มิลลิลิตร และ 250มิลลิลิตร ใช้สำหรับผสมยาที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ตำแหน่งหลอดเลือดดำที่ใช้แทง (Venipuncture sites)
Cephalic vein
Basilic vein
Dorsal metacarpal vein
ข้อปฏิบัติในการเลือกหลอดเลือดำดสำหรับให้สารน้ำ
ในทารกแรกเกิด ให้แทงเข็มบริเวณ scalp vein เนื่องจากเห็นชัด ตำแหน่งของเข็มเลื่อนหลุดได้ยาก กว่าเมื่อทารกดิ้น
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให ้สารน้ำชนิด hypertonic เนื่องจากสารน้ำมีความเข้มข้นของสารละลายสูง
ไม่ใช้หลอดเลือดดำ บริเวณที่ไดร้ับการผ่าตัด
อาจมีการระคายเคืองและปวด บริเวณหลอดเลือด
ไม่ควรใช้หลอดเลือดที่ขาเนื่องจากอาจเกิดอันตรายการไหลเวียนของ เลือดไม่ดีได้ง่าย
ควรเปลี่ยนตำแหน่งหลอดเลือดทุก 72-96ชม.
ไม่ควรใช ้antecubital vein ถ้ายงมีหลอดเลือดอื่นที่พอจะหาได้ั
ควรเลือกเข็มเบอร์เล็ก ความยาวสั้น
ตรวจสอบบริเวณตำแหน่งที่จะแทงเขม็ว่ามีสภาพที่เหมาะสม
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อ ข้อพับ
เลือกหลอดเลือดดำของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
การคำนวณอัตราหยดของสารน้ำ
จำนวนหยดต่อนาที= ปริมาตรสารน้ำทั้งหมด(ml) xdropfactor(gtt/ml) /เวลาที่ให้ทั้งหมด(min)
ข้อควรระวังในการควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำ
ควรตรวจสอบอัตราการหยดของสารน้ำอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง เพื่อรักษาความสมดุลของน้ำและเกลือแร่
คำสั่งการรักษา KVO (keep vein open) หมายถึงการปรับ อัตราหยดช้าๆ แต่ไม่ต่ำกว่า10-15มล./ชม.โดยเฉพาะหยดเล็ก มิฉะนั้นแรงดันในหลอดเลือดแดงจะมากกว่าทำให้เลือด ไหลย้อนเข้ามาในสายชุดให้สารน้ำเกิดก้อนเลือด
อาการแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำ
ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลอืด (air embolism )
การมีสารน้ำมากกว่าปกติในระบบหลอดเลือด (circulatory overload)
หลอดเลือดดำอักเสบ (phlebitis)
ปฏิกิริิยาสารไพโรเจน เกิดมีสารไพโรเจนปนเปื้อน
ส่วนประกอบของเลือด
Packed red cell (PRC) คือเลือดที่ปั่นแยกเอา plasma ออก
FFP (Fresh Frozen Plasma)
Whole blood คือเลือดที่เจาะเก็บจากผู้บริจาคโดยตรง
Platelet concentrate
Cryoprecipitate
Granulocyte concentrate
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาที่ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดมากๆ
ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
ขั้นตอนก่อนการให้เลือด
เตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์และเครื่องมือ
ใช้ blood set ที่มีแผ่นกรอง (filter)
เครื่องควบคุมอัตราการไหล (infusion pump)
เตรียมการขอเลือด
ตรวจสอบรายละเอียดคำสั่งการรักษา
ก่อนเจาะเลือด ผู้เจาะต้องสอบถามชื่อ-สกุล HN
เจาะเลือดใส่ EDTA tube ปริมาณ 3 cc จำนวน 1-2 tube แล้วส่ง tube เลือดพร้อมใบสั่งจองเลือด
เตรียม sticker ชื่อผู้ป่วยติด tube เลือด
เมื่อได้รับเลือดจากทางห้องเลือด ให้ตรวจสอบชื่อ-สกุล HN หมู่เลือด ชนิดเลือด Rh ให้ตรงกับฉลากที่ติดมากับถุงเลือด
เตรียมความพร้อมผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงความจำเป็นของการให้เลือด
เปิดหลอดเลือดดำส่วนปลาย โดยใช้ catheter เบอร์ 20 หรือโตกว่า
ขั้นตอนหลังให้เลือด
ช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน เช่น การรับประทานอาหาร การเคลื่อนย้าย อาบน้ำ ตามความเหมาะสม
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเต็มที่ ระบายอากาศได้ดี
ให้การรักษาแบบประคับประคองหากเกิดอาการที่เป็นผลข้างเคียงจากการให้เลือดแบบไม่รุนแรง เช่น เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดอาการผื่นคัน ให้ออกซิเจน รวมถึงจัดท่านอนที่เหมาะสม