Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ (software)
ชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ท างานได้ตรงตามความต้องการและถูกต้อง รวมถึงการ
ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ
ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
ซอฟต์เเวร์ระบบ(system software)
ซอฟต์แวร์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้บริหารจัดการระบบ การจัดสรรพทรัพยากรและดำเนินงานพื้นฐานต่างๆในระบบ สามารถเเบ่งได้ 3 ประเภท
ระบบปฎิบัติการ(Operating System:OS)
:เป็นซอฟต์เเวร์ที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์
โปรเเกรมอรรถประโยชน์(utillities program)
:เป็นโปรเเกรมประเภทหนึ่งที่อำนวยความสะอาดให้ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ตัวเเปลภาษา(translator)
:เป็นโปรเเกรมที่ทำหน้าที่ในการเเปลภาษาที่ไม่ใช่ภาษาเครื่อง
ซอฟต์เเวร์ประยุกต์(application software
)
ซอฟต์เเวร์ที่ใช้กับงานด้านต่างๆตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง สามารถเเบ่งได้ 2 ประเภท
ซอฟ์เเวร์ประยุกต์ทั่วไป(general purpose software)
:เป็นซอฟ์เเวร์ที่พัฒนาข้้นเพื่อปประยุกต์ใช้กับงานทั่วไป เช่น การพิมพ์รายงาน การสร้างตารางทำงาน การนำเสนอผลงาน
ซอฟ์เเวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
:เป็นโปรเเกรมที่ได้รับการออกเเบบเเละพัฒนาสำหรับนำไปใช้งานเฉพาะด้านตามความต้องกาของผู้ใช้
ซอฟต์เเวร์ระบบ(system software)
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS)
ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่นิยม และเป็นที่รู้จัก เช่น ios,android
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program)
คือ โปรแกรมที่ติดมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการวินโดว์ เรียกง่ายๆว่าเป็นโปรแกรมที่ช่วยดูแลระบบการท างานของวินโดว์เพราะมีหลากหลายประเภท เช่น ประเภทการจัดไฟล์ ป้องกันไวรัสบีบอัดไฟล์ ฯลฯ ซึ่งเป็นโปรแกรมที่จะมาช่วยสนับสนุนการท างานของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพตามบุคลิกภาพของผู้ใช้งาน
โปรแกรมบีบอัดไฟล์
Win rar
Win Zip
โปรแกรมดูแลป้องกัน รักษาคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัยจากการคุกคามของไวรัส
Avira AntiVir Premium 8.1.00.331 / kaspersky
Spyware_Doctor_6.0.0.354 / Spy Emergency 2007 v4.0.345.0
AHDV1.3.7SP1-Setup2
1 more item...
โปรแกรมแปลภาษา (Translator)
เป็นโปรแกรมซึ่งมักเขียนขึ้นมา โดยบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ หรือบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการแปลความหมายของคำสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูปที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ได้แก่ ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล หรือภาษาซี เป็นต้น
โปรแกรมแปลภาษาที่ใช้กันในปัจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
1. คอมไพเลอร์ (Compiler)
:เป็นโปรแกรมแปลภาษาที่เขียนด้วยภาษาระดับสูง ในระหว่างการแปลให้เป็นภาษาเครื่องนั้นคอมไพเลอร์จะตรวจสอบความถูกต้องของการใช้คำสั่งแต่ละค าสั่งในภาษานั้นๆ ว่าถูกต้องตามหลักไวยากรณ์หรือไม่
2.
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
:เป็นโปรแกรมแปลภาษาอีกประเภทหนึ่งที่จะแปลคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงครั้งละ 1 ค าสั่ง ให้เป็นภาษาเครื่องแล้วนำคำสั่ง ที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำการประมวลผลทันที การแปลโปรแกรมด้วยอินเตอร์พรีเตอร์ ส่วนใหญ่ไม่มีการเก็บออบเจ็กต์โปรแกรมไว้เหมือนกับคอมไพเลอร์ ดังนั้นเมื่อต้องการใช้งานโปรแกรมนั้นซ้ าอีก จ าเป็นต้องท าการแปลค าสั่งใน โปรแกรมนั้นใหม่ทุกครั้ง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป (General purpose software)
ซอฟต์แวร์ด้านการจัดการงานเอกสารต่างๆ เช่น Word Excel OneNote Outlook PowerPoint
ซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก เช่น Photoshop Encore Flash
ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บไซต์และการติดต่อสื่อสาร เช่น Line Shype
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
ซอฟต์แวร์ระบบงานจัดจำหน่าย
ได้แก่ ระบบงานรับใบสั่งซื้อสินค้า ระบบงานบริหารสินค้าคงคลังและระบบงานประวัติการขาย
ซอฟต์แวร์ระบบงานด้านบัญชี
ได้แก่ ระบบงานบัญชีเจ้าหนี้ บัญชีลูกหนี้ บัญชีสินทรัพย์ถาวรและค่าเสื่อมราคาสะสม บัญชีแยกประเภททั่วไป และบัญชีเงินเดือน
ซอฟต์แวร์ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม
ได้แก่ ระบบงานกำหนดโครงสร้างผลิตภัณฑ์ การวางแผนกำลังการผลิต การค านวณต้นทุนของงาน การประเมินผลงานของพนักงาน การวางแผนการผลิตหลัก การวางแผนความต้องการวัสดุ การควบคุมการท างานภายในโรงงาน การกำหนดเงินทุนมาตรฐานสินค้าและการกำหนดขั้นตอนการผลิต
ซอฟต์แวร์อื่นๆ
ได้แก่ ระบบการสร้างรายงาน การบริหารการเงิน การเช่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ และการเช่าซื้อรถยนต์