Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการดูแลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ -…
บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการดูแลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
หายใจเข้าออกลึกๆ 2-3 ครั้ง เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง กลั้นหายใจสักครู่หายใจออกพร้อมไอออกมาแรงๆ 2-3 ครั้งติดต่อกัน
สาเหตุของภาวะหายใจล้มเหลว
ความผิดปกติที่ปอด
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาที่พบบ่อยๆในรับบทางเดินหายใจ
ภาวะการหายใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดงเมื่อมีภาวะการหายใจล้มเหลว
Cardiovascular system ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง
Central nervous system ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป สับสน
Respiratory system หายใจเร็ว หายใจลำบาก
Hematologic effect เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ร่างกายสร้างเสมหะมาก
มีภาวะติดเชื้อหรือภาวะขาดน้ำ
ไอไม่มีประสิทธิภาพ
การรักษา
ให้เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้ O2 เพื่อแก้ไขภาวะ Hypoxemia
แก้ไขภาวะอุดกั้นในหลอดลม
การแก้ไขภาวะ Alveolar hypoventilation
การรักษาโรคหรือสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะการณ์หายใจล้มเหลว
ชนิดของภาวะหายใจล้มเหลว
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
การหายใจล่มเหลวอย่างเรื้อรัง
การให้ออกซิเจนต่างๆ
Oxygen Re breathing Mask with Bag
ออกซิเจนมีถุง
Partial Re-breathing mask ใช้อัตรา 1-6 ลิตร/นาที ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ 40-60%
Non-Re-breathing mask ใช้อัตรา 6-10 ลิตร/นาที ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ 60-100%
ใช้สำหรับอัตราการไหลของออกซิเจน 1-10 ลิตร/นาที
การพยาบาลผู้ป่วยขณะได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
Oxygen Mask
หน้ากากออกซิเจน
ให้อัตรา 5-10 ลิตร/นาที
สิ่งที่ควรคำนึง
ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากพาราควอตซ์
Nasal Cannula
ออกซิเจนแบบผ่านจมูก
อัตราการไหลออกซิเจน 6-10 ลิตร/นาที ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ 24-44%
การหายใจอย่างถูกวิธี
การหายใจอย่างลึก
ประโยชน์
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
สูดลมหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ ให้ลมเข้าปอดให้มากที่สุดจนท้องป่องแล้วค่อยๆผ่อนลมหายใจออกทางปากช้าๆท้องจะยุบลง
ทางเดินหายใจ
ส่วนปลาย
หลอดลม
ถุงลม
ส่วนต้น
จมูก
คอหอย
กล่องเสียง
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรักษา
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
รักษาภาวะพร่องออกซิเจน
การดูดเสมหะ
การใช้สายยางดูดเสมหะซึ่งปราศจากเชื้อผ่านเข้าทางปาก จมูก หรืออุปกรณ์ที่ใส่เข้าไปในหลอดลม เพื่อนำเสมหะออกจากทางเดินหายใจ เนื่องจากผู้ป่วยไอขับเสมหะออกเองไม่ได้หรือการเก็บเสมหะเพื่อส่งตรวจเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ