Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 25 ปี G3P2A0L2 GA 38+1 wks. LMP: 7 มกราคม 2563 EDC: 14…
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 25 ปี G3P2A0L2 GA 38+1 wks. LMP: 7 มกราคม 2563 EDC: 14 ตุลาคม 2563
ข้อมูลทั่วไป
ประเมินสุขภาพจิต
ประเมินความเครียด (ST-5) ได้ 7 คะแนน, 2Q 1 คะแนน แปลผล มารดาปฏิบัติมีความเครียดและมีภาวะซึมเศร้าอยู่ใรระดับปานกลาง
มารดา ฺBMI 30.26 = Obesity
OPERATION AND ACCIDENTS
ผ่าตัดคลอดเมื่อปี พ.ศ.2559
FAMILY HISTORY
ในครอบครัวไม่มีโรคประจำตัว
ประวัติการคุมกำเนิด กินยาคุม ไม่ทราบระยะเวลา
ความเชื่อด้านอาหารและสุขภาพขณะตั้งครรภ์ เชื่อในการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน
สมาชิกในครอบครัวและสัมพันธภาพ อาศัยอยู่กับสามี และลูก 2 คน สมาชิกในครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดี ช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน ความรู้สึกและการรับรู้ต่อการตั้งครรภ์นี้ รู้สึกดีใจที่จะมีลูก
กางวางแผนคุมกำเนิด
มารดาคิดว่าจะทำหมันแต่ขอปรึกษาแพทย์ก่อน
ตรวจร่างกาย
Abdomen : Linea nigra
HF : 3/4 > O, 34 cm
Extremities : no edema
BW ก่อนตั้งครรภ์ : 69 kg, Ht: 151 cm, BMI: 30.26 = Obesity
Eye: not pale conjunctivae
ตรวจร่างกายไม่พบความผิดปกติ
Vital Signs: BT= 36.7 C, PR= 102 bpm, RR= 20 bpm, BP= 121/72 mmHg, FHS= 136 bpm
BW ปัจจุบัน 81 kg.
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
หญิงตั้งครรภ์
ไม่พบการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ไม่พบการติดเชื้อ HIV
ไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
DCIP Positive
EA, Hb E ≥ 25% : Hb E trait
Blood gr. B Rh. Positive
ไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ
สามี
ไม่พบการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ไม่พบการติดเชื้อ HIV
ไม่พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
DCIP Positive
EA, Hb E ≥ 25% : Hb E trait
Blood gr. ไม่ทราบข้อมูล
แปลผลความเสี่ยงในทารก
ทารกมีโอกาสเป็น Homozygous E B-Thalassemia
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ไตรมาสที่ 2 จากการสอบถามกรณีศึกษาพบว่าหน้าท้องขยายใหญ่มากขึ้น และเต้านมขยายใหญ่ขึ้น และมีตกขาวเป็นบางครั้ง ไม่มีอาการคัน
Ultrasound ครั้งที่ 1 วันที่ 21 พ.ค. 2563 ตอนอายุครรภ์ 19+2
ไตรมาสที่ 3 จากการสอบถามมารดาบอกว่า มีอาการปวดหลังเวลาเดินกับนอนหงายจะรู้สึกแน่นและหายใจลำบาก
ไม่พบการหดรัดตัวของมดลูก
ไตรมาสที่ 1 จากการสอบถามกรณีศึกษาพบว่ามีรู้สึกว่าเต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น มีอาการวิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะบ่อยขึ้น
LAB I ค่า Hct. = 40%
LAB II ค่า Hct = 38%
การวางแผนการพยาบาล
ไตรมาสที่ 2
ส่งเสริมการดูแลด้านโภชนาการ เนื่องจากมารดาและทารกอยู่ในช่วงไตรมาสที่2
ไตรมาสที่ 3
ไม่สุขสาบายเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในไตรมาสที่ 3
ส่งเสริมการปฏิบัติตัวอย่างถูกต้องหญิงตั้งครรภ์อยู่ในระยะไตรมาสที่ 3
ปวดหลังเนื่องจากมดลูกขนาดโตขึ้น
ทารกในครรภ์เสี่ยงเป็นโรค Thalassemia
เสี่ยงต่อมีภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้า
ไตรมาสที่ 1
ไม่สุขสบายจากคลื่นไส้อาเจียน เนื่องจากมีอาการแพ้ท้อง
แปลผล : มีระดับยอดมดลูกและอายุครรภ์สัมพันธ์กัน