Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษา และวัฒนธรรมเป็นฐานตามแนวทาง …
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษา
และวัฒนธรรมเป็นฐานตามแนวทาง
โรงเรียนพหุวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
และความสนใจของตนเอง
ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน
เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัด
มีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
คิดสร้างสรรค์
คิดแก้ปัญหา
มีทักษะในการดำรงชีวิต
มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม
มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
มีความรับผิดชอบต่อสังคม
มีความภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐาน
ในการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
การศึกษาที่มุ่งเน้น
การเพิ่มพูนความรู้
ทักษะเฉพาะด้าน
สนองตอบความสามารถ
ความถนัด
ความสนใจของผู้เรียนแต่ละคน
วิชาการ
วิชาชีพ
ทักษะ มีทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี
ทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้
เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ
มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นำ
และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุล
ด้านร่างกาย
สติปัญญา
อารมณ์
สังคม
วัฒนธรรม
โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
มุ่งเน้นทักษะ พื้นฐาน
การติดต่อสื่อสาร
กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม
การคิดพื้นฐาน
พื้นฐานความเป็นมนุษย์
การคิดคำนวณ
อ่านการเขียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด
เป็นกิจกรรมที่มุ่งปลูกฝังระเบียบวินัยและกฎเกณฑ์เพื่อการอยู่ร่วมกัน
ให้รู้จักการเสียสละและบำเพ็ญประโยชน์แก่สังคม
ลูกเสือสำรอง (ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3)
ลูกเสือสามัญ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6)
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
สำรวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมชุมนุม ชมรม
ให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมได้หลากหลายทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
มีครูที่ปรึกษา ชุมนุม ชมรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม
ครูที่ปรึกษากิจกรรมประเมินตามหลักเกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมแนะแนว
สำรวจสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาติของผู้เรียน
ศึกษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนที่ได้
จากการสำรวจ
กำหนดสัดส่วนสาระของกิจกรรมในแต่ละด้าน
กำหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
การจัดทำรายละเอียดของแต่ละกิจกรรม
ปฏิบัติตามแผน วัดและประเมินผล และสรุปรายงาน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการตัดสิน
แนวทางปฏิบัติ
ผู้รับผิดชอบเสนอผลการประเมินต่อคณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ความเห็นชอบ
ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เป็นรายบุคคลตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนต้องผ่านกิจกรรม 3 กิจกรรมสำคัญ
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ผู้รับผิดชอบเสนอผู้บริหารสถานศึกษาพิจารณาเพื่ออนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การจบแต่ละระดับการศึกษา
กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของผู้เรียนทุกคนตลอดระดับการศึกษา
เกณฑ์การตัดสิน
กำหนดไว้ 2 ระดับ คือ ผ่าน และ ไม่ผ่าน
ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
ไม่ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่ผ่านการปฏิบัติกิจกรรมหรือมีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี/รายภาค
ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมสำคัญทั้ง 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ไม่ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” ในกิจกรรมสำคัญใดกิจกรรมหนึ่งใน 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อจบ
ระดับการศึกษา
ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ทุกชั้นปีในระดับการศึกษานั้น
ไม่ผ่าน หมายถึงผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” บางชั้นปีในระดับการศึกษานั้น
การจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
รูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม
James Banks (2001, 2008)
การลดอคติ (Prejudice Reduction)
การสอนที่ยึดหลักความยุติธรรม (Equity Pedagogy)
การสร้างความรู้ใหม่ (The Knowledge Construction Process)
การปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน
(An Empowering School Culture and Social Structure)
บูรณาการเนื้อหาวัฒนธรรมของนักเรียน เข้าไปในวิชาต่างๆ (Content Integration)
กล่าวโดยสรุป การจัดการศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม
ทั้งในด้านการบูรณาการเนื้อหา การสร้างความรู้ใหม่ การลดอคติ การสอนที่ยึดหลัก
ความยุติธรรม และการปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการศึกษาแนวพหุวัฒนธรรม
จัดกิจกรรมพร้อม ๆ กันทั้ง 5 แนวทางดังกล่าว
การปลูกฝังเยาวชนของชาติที่มีความต่างกัน ทั้งด้านชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีชีวิต ให้มีโอกาส
ประสบความสำเร็จในการเรียนโดยเสมอภาคกัน
ความหมายของการศึกษาพหุวัฒนธรรม
Banks (2001)
ที่สภาพแวดล้อมทางการศึกษาประกอบไปด้วยนักเรียนที่มาจากกลุ่มวัฒนธรรมที่ต่างกัน
การศึกษาพหุวัฒนธรรมเป็นรูปแบบของการจัดการศึกษาประเภทหนึ่ง
Tileston (2004)
กระบวนการของการสอน และการเรียนรู้ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเชื่อ ค่านิยมแบบประชาธิปไตย และปรัชญาพหุวัฒนธรรมนิยม
ภายใต้สังคมที่มีความหลากหลายวัฒนธรรม เพื่อนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนทุกคน ให้เจริญสูงสุดตามศักยภาพของตน
ด้านสติปัญญา
ด้านอารมณ์
ด้านสังคม
กระบวนจัดการศึกษาที่ได้รับการออกแบบมา เพื่อพัฒนาส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้ และการยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรม
Grant and Ladson – Billings (1997)
โดยการศึกษาพหุวัฒนธรรมมีรากฐานมาจากปรัชญาในอุดมคติเกี่ยวกับเสรีภาพ ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความยุติธรรม และการให้เกียรติในความเป็นมนุษย์
พหุวัฒนธรรม คือ กระบวนการซึ่งเกิดขึ้นในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งสอดแทรกอยู่ในทุกเนื้อหาวิชาและในส่วนอื่น ๆ ของหลักสูตร
การศึกษาพหุวัฒนธรรม คือ แนวความคิดทางปรัชญาและกระบวนการทางการศึกษา
ตัวอย่างแนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน
ลำพอง กลมกูล (2561)
วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยศึกษาจากเอกสารงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องการสัมภาษณ์และการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม
ผลการวิจัยพบว่า
มีการจัดการและการบริหารอย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดกลไกในการดำเนินชีวิตร่วมกัน
ภายใต้ความเป็นพหุวัฒนธรรมทางศาสนาที่ต้องประกอบด้วยการเรียนรู้
การทำความเข้าใจ และปรับตัว
โดยมีหลักคิดทางศาสนาที่ยึดมั่นในขันติธรรม
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพหุวัฒนธรรมทางศาสนา
กับแนวทางการอยู่ร่วมกันของคนจีนและคนมลายูในประเทศบรูไน
ได้ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมทางศาสนากับแนวทางการอยู่ร่วมกันของจีนและมลายู : กรณีศึกษาประเทศบรูไน
ศิลป์ชัย สุวรรณมณี และคณะ (2557)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบ
เชิงยืนยัน (Confirm Factor Analysis) รูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่สอดคล้องกับบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 224 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับเขตพื้นที่
และผู้บริหารระดับโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ
ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ได้ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน
รูปแบบการบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่สอดคล้อง
กับบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการวิจัยพบว่า
มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง
มีค่าไค-สแควร์ ( 2) เท่ากับ 207.15 ที่องศาอิสระ (df) เท่ากับ 144
มีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (2/df) เท่ากับ 1.43
ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.92
และ 0.87 ตามลำดับ
ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูป
คะแนนมาตรฐาน (SRMR) เท่ากับ 0.04
ชรินทร์ มั่งคั่ง (2562)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาและการปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษา
ในโรงเรียนมัธยมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน
กลุ่มเป้าหมายเป็นครูสังคมศึกษาที่ให้ข้อมูลการรู้พหุวัฒนธรรมศึกษา จำนวน 192 คน และครูสังคมศึกษาที่ยินดีให้ข้อมูล
เกี่ยวกับการปฏิบัติเชิงวิชาชีพ จำนวน 17 คน
ได้ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการรู้พหุวัฒนธรรมศึกษา
และการปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้าง
แบบบันทึกการสังเกต และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม
ผลการวิจัยพบว่า
การรู้พหุวัฒนธรรมศึกษาของครูสังคมศึกษามีการรู้โดยรวมระดับน้อย
(ค่าเฉลี่ย 1.22)
การปฏิบัติเชิงวิชาชีพของครูสังคมศึกษาโดยครูส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70)
ไม่มีการปฏิบัติเชิงวิชาชีพตามองค์ประกอบการจัดการศึกษา 4 ด้าน
การวิเคราะห์หลักสูตร
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร
การพัฒนาสื่อและแหล่งเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
นายสุชนม์ กล่ำทวี รหัสนิสิต 60204327
วิทยาลัยการศึกษา แขนงวิชาชีววิทยา(คู่ขนาน)