Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบที่ 10 บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการดูแลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหาย…
บทบที่ 10 บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการดูแลผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ
ระบบหายใจ
มีหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สในสิ่งมีชีวิต โดยนำออกซิเจน (O2) เข้าสู่ร่างกายเพื่อนำไปสร้างพลังงาน แล้วก็จะขับของเสียออกมาในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ทางเดินหายใจส่วนปลาย หลอดลม (Trachea) ปอด (Bronchus) แขนงขั้วปอด (Bronchiole) ถุงลม (Alveolus)
ทางเดินหายใจส่วนต้น จมูก (nose) โพรงจมูก (Nasal Cavity) คอหอย (Pharynx) กล่องเสียง (Larynx)
การประเมินสภาพผู้ป่วยที่มีปัญหาการหายใจ
ภาวะที่ระบบหายใจไม่สามารถทําหน้าที่ระบายอากาศและแลกเปลี่ยนก๊าซได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายจะมีระดับออกซิเจนในเลือดแดง (PaO2) ต่ำกว่าปกติ และ/หรือ คาร์บอนไดซ์ในเลือด (PaCo2) สูงกว่าปกติและร่างกายมีความเป็นกรดมากขึ้นซึ่งเกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยจากผล ABG ว่ามีภาวะหายใจล้มเหลว คือ PaO2 < 50-60 mm.Hg PaCo2 > 50 mm.Hg PH < 7.25
กลไกการหายใจเข้า – ออก
กระบังลม (diaphragm) และมีกระดูกซี่โครงครอบคลุมปอดด้านบนและด้านข้าง เมื่อเราหายใจเข้า กล้ามเนื้อกระบังลมจะหดตัวและเลื่อนตัวลง กล้ามเนื้อยึดซี่โครงด้านนอกก็จะหดตัวลงเช่นกันเพื่อทำให้กระดูกซี่โครงยกตัวขึ้น
ชนิดของภาวการณ์หายใจล้มเหลว
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง (Chronic respiratory failure)
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน (Acute respiratory failure)
สาเหตุของภาวการณ์หายใจล้มเหลว
ความผิดปกติที่ช่องทรวงอกและเยื่อหุ้มปอด
ความผิดปกติที่ระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติที่ปอด
ความผิดปกติของระบบประสาท และกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การดูดเสมหะ
การให้ออกซิเจนประเภทต่างๆ
Oxygen Re breathing Mask with Bag หรือ หน้ากากออกซิเจนมีถุง
Oxygen Mask หรือหน้ากากออกซิเจน
Nasal Cannula หรือสายออกซิเจนแบบผ่านจมูก
สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการให้ออกซิเจน
การบำบัดด้วยออกซิเจน ควรระมัดระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากพาราควอตซ์ (paraquat poisoning) เพราะการให้ O2 จะทําให้ O2 ไปทําปฏิกิริยากับพาราควอตซ์ ทําให้เกิดพิษกับปอดได้
การประเมินเพื่อการดูดเสมหะ
1.1 พบปัจจัยเสี่ยงต่อเสมหะอุดกั้นภายในทางเดินหายใจ ผู้ป่วยขับเสมหะออกเองไม่ได้ เสมหะปริมาณมาก ลักษณะเสมหะเหนียว
1.2 อาการแสดงของเสมหะอุดกั้นภายในทางเดินหายใจ ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย หายใจลำบาก, หายใจเสียงดัง หรือการได้ยินเสียงเสมหะภายในหลอดลมของผู้ป่วยอัตราชีพจรและการหายใจเพิ่มขึ้น การฟังปอดได้เสียงผิดปกติ (Adventitions sound)
การพยาบาลผู้ป่วยขณะได้รับออกซิเจน
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก2-3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way) ให้โล่งตลอดเวลา
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
การดูดเสมหะ หมายถึง การใช้สายยางดูดเสมหะซึ่งปราศจากเชื้อผ่านเข้าทางปาก จมูก หรืออุปกรณ์ที่ใส่เข้าไปในหลอดลม
อาการและอาการแสดงเมื่อมีภาวการณ์หายใจล้มเหลว
Cardiovascular system : ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง
Central nervous system : ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป สับสน
Respiratory system : หายใจเร็ว หายใจลําบาก
Hematologic effect : เม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น(Polycytemia)