Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย, image, image - Coggle Diagram
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย
การบรหิารยาตามหลัก 10 R
Right Dose: ให้ยาขนาดถูกต้อง
Right time : ให้ตรงตามเวลา
Right drug-drug interaction and evaluation : การตรวจสอบปฏกิิริยาระหว่างกันของยา และประเมินถูกต้อง
Right route: ให้ถูกทาง
Right patient : ให้ผู้ป่วยถูกคน
Right education : การให้ความรู้ถูกต้อง
Right assessment : ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาและประเมินถูกต้อง
Right documentation : บันทึกถูกต้อง
การใช้ยาอย่างสมเหตผุล Rational Drug Use (RDU)
ผลกระทบ การใช้ยาที่ไม่ สมเหตุสมผล
ปัญหาด้านประสิทธิภาพของการรักษา
ปัญหาความคลาดเคลื่อน/ผลข้างเคียงของยา
เกิดเชื้้อโรคดื้อยา (antimicrobial resistance) มากขึ้น
ผู้ป่วยอยู่รพ.นานขึ้น
อัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น
สญูเสียทางเศรษฐกิจ 40,000 ล้านบาท/ปี
การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม
ไม่มีแรงต้องให้น้ำเกลือ
ไม่มีแรงต้องให้น้ำเกลือ
ไม่สบายต้องฉีดยาจึงจะหาย
กินยาปฏิชิวีนะพร่ำเพรื่อ
การใช้ยาสมเหตผุล
ระยะเวลาที่เหมาะสม
มีค่าใช้จ่ายต่อชมุชนและผูู้ป่วยน้อยที่สุด
ขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
ความปลอดภัยในการบริหารยา การเสื่อม และหมดอายุของยา
ยาหมดอายุ
ยาที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์วันหมดอายที่ระบุไวบนบรรจุภัณฑ์
ยาแบ่งบรรจุล่วงหน้า ( pre-pack) มีอายุการใช้งาน 1 ปี นับจากวันที่แบ่งบรรจุ
ยาน้ำที่ยังไม่ได้เปิดใช้เก็บไวได้ 3 ปีนับจากวันผลิต หลังเปิดใช้เก็บ ไวไม่เกิน 6 เดือน
ยาน ้าเชื่อม หลงัเปิดใชเ้ก็บไวไ้ม่เกนิ 1 เดอืน และเก็บที่อณุหภมูหิอ้ง
ยาปฏชิวีนะชนิดผงแห้ง หลังผสมเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 7 วัน เก็บใน ตูเย็นได้ 14 วัน
ยาหยอดตายาป้ายตา หลังการเปิดใช้ชนิดที่ใสส่ารต้านเชื้อมี อายุไม่เกิน 1 เดือน แตช่นิดไม่เติมสารต้านเชื้อ
ยาเสื่อมสภาพ
ยาน้ำ แขวนตะกอน ตะกอนจับกันเป็นก้อน เขย่าไม่กระจายตัว
ยา น ้าเชื่อม ขนุ่มีตะกอน ผงตวัยาละลายไม่หมด สเีปลี่ยน
ยาแคปซลู แคปซลูบวมโป่ง มีจุดขึ้นรา ผงยาเปลี่ยนสี จับกันเป็นก้อน
อัมีลชั่น แยกเป็นชั้นเมื่อเขย่าจะเข้ากันดี แต่ถ้าเสื่อมสภาพ
ยาเม็ด มีจุดด่างขึ้นรายาเม็ดเคลื่อนน้ำตาลเยิ้มเหนียว
ยาเจล เนื้อเจลใสจะเปลี่ยนเป็นขุ่นและ ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
อินซูลิน (ยาฉีด) อินซูลินชนิดขุ่น ตะกอนจับกันเป็นก้อน เกาะ ติดกันแน่น
ยาหยอดตา เปลี่ยนจากน้ำใสๆ เป็นน้ำขุ่น หรือ หยอดแล้วมีอาการแสบตา
ความปลอดภัยในการบริหารยาของพยาบาล
ปรับปรุงข้อมูลของยาที่จะให้แก่ผู้ป่วยอยู่เสมอ
ชี้บ่งสิ่งตา่งๆใหถ้กูตอ้งเพื่อสรา้งความปลอดภ
ถ้าไม่แน่ใจหรืออ่านไม่ออกให้ซักถาม และพูดคำ
รายงานความเสี่ยง หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
จัดยาอย่างถูกต้อง เช่น 6R ,7R,10R
เตรียมการแก้ไข้ให้พร้อม เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงค์
จัดยาอย่างมสีติและสมาธิ
การให้ยา
การหยอดหู/จมกู/ตา/ป้ายตา
บีบน้ำยาไปตามผนังช่องหูประมาณ 2-3 หยด ใช้สำลีกดเบาๆ บริเวณใกล้หูด้านหน้า
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมประมาณ 5-10 นาที
เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ให้ดึงใบหูลงและไปข้างหลัง ผู้ใหญ่ให้ดึงใบหู ขึ้นบนและไปข้างหลัง
การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
แทงเข็มเข้าไปเพียงปลายตัดเข็มเลยเข้าไปในผิวหนังเล็กน้อย ค่อย ๆ ดันยาเข้าไป จนมีตู่มนูนขึ้นมาประมาณเม็ลดถั่วเขียว (0.5 ซม.)
แทงเข็มทำมุม 5 -15 องศากับผิวหนัง
การให้ยาสูดดมทางปาก / จมูก
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆก่อนสูดยา
ให้ผู้ป่วยปิดปากให้สนิทแล้วกดลงขณะผู้ป่วยเริ่มหายใจเข้า ขณะพ่นยาให้ผู้ป่วยสูดหายใจลึกๆ
นำกล่องยาคว่ำลงในเครื่องพ่นยาเขย่า 4-5 ครั้ง
การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
แทงเข็มทำมุม 45-90 องศา ลึกตามขนาดของเข็ม
การเหน็บยาทางช่องคลอด/ทวารหนัก
ยาประเภทเจล หรือครีม ให้ใช้หลอดใส่ยา บรรจุยาแล้วสอดเข้าไป ในช่องคลอดลึก ประมาณ 1.5-2 นิ้ว
ยาเม็ด ใช้น้ิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้จับยา วางบริเวณปากช่องคลอด และใช้นิ้วชี้ดันยาเข้าไปช่องคลอด
การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)
กล้ามเนื้อต้นขา (Vastus lateralis muscle)
กล้ามเนื้อสะโพก (Gluteal muscle)
การให้ยาบริเวณผิวหนัง
ยาพ่น เขย่าตัวยาให้เข้ากัน ถือขวดยาเหนือบริเวณที่จะพ่นประมาณ 3-6 นิ้ว
ยาที่มีส่วนผสมของน้ำมันอนุ่ในน้ำร้อน หรือเทยาบนฝ่ามือก่อนทำ ยาผง ให้เทยาลงบนผ้าก๊อซหรือมือ แล้วจึงทำ
ยาที่เป็นของเหลวที่ตกตะกอน เขย่าให้เข้ากันใช้ผ้าก๊อซหรือสำลีชุบยาทา
ยาขี้ผึ้ง ใช้ไม้พายหรือผ้ากอซป้ายยาออกจากภาชนะ ทาลบูเป็นทางยาวตามแนวข้น
การฉีดยาเขา้ทางหลอดเลือดดำ
การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ ในระยะเวลาอันสั้น -การฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ โดยตรง -การฉีดเข้าทางเข็มที่คาไว -การฉีดเข้าทางชุดให้สารน้ำ
การให้ยาทางหลอดเลือดดำ โดยวิธีการหยด -การหยดในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยผสมยาใส่ใน piggy bag 100 ml.-การหยดเข้าหลอดเลือดดำ อย่างต่อเนื่อง6-24 ชม.
การใหย้าทางปาก
ยารับประทานก่อนอาหาร หมายถึงรับประทานยาก่อนอาหารอย่างน้อย 30 นาทีึถีง 1 ชม.
ยารับประทานหลังอาหาร หมายถึง รับประทานยาหลังอาหารอย่างน้อย 15 นาที
ยาที่รับประทานพร้อมอาหารหรือหลังอาหารทันทีเป็นยาที่มี ฤทธิ์เป็นกรด
ยารับประทานก่อนนอน หมายถึง ให้รับประทานก่อนนอนตอน กลางคืน
ยาระหว่างมื้อ เป็นยาที่ต้องรับประทานก่อนหรือหลังอาหาร 2 ชั่วโมง
การคำนวณยา