Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนา - Coggle Diagram
หน่วยที่ 3 แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการพัฒนา
1. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนา
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา
แนวทางการพัฒนา
การพัฒนาสังคม
การรู้หนังสือ
สวัสดิการสังคม
การพัฒนาการปกครอง
ปกครองโดยกฎหมาย
เคารพกติกา
รับผิดชอบต่อสาธารณชน
ประชาชนมีส่วนร่วม
มีจริยธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้
การพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาภาคเกษตรกรรม
การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
การพัฒนาการเมือง
กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น
การเป็นพลเมืองที่ดี
ความเป็นมาของแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา
แนวความคิดแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวความคิดแบบเศรษฐศาสตร์
แนวความคิดแบบการปฏิบัติการทางสังคม
แนวความคิดแบบวิวัฒนาการ
แนวความคิดแบบความขัดแย้งทางสังคม
สาเหตุและความสำคัญของการพัฒนา
ความก้าวหน้าสำคัญทางเทคโนโลยี
ผลกระทบจากอารยะธรรมตะวันตก
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเสื่อมโทรม
การเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างมากมายฉับพลัน
แนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนา
เกี่ยวกับการปฏิบัติ
เกี่ยวกับเทคโนโลยี
เกี่ยวกับการวางแผน
สมมติฐานการพัฒนา
ปรัชญาของการพัฒนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความเป็นธรรมทางสังคม
ศักยภาพของมนุษย์
การพัฒนาแบบยั่งยืน
ทฤษฎีการพัฒนา
ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาเชิงวิเคราะห์
ทฤษฎีการพึ่งพา
ทฤษฎีการพัฒนาเชิงมิติทางเศรษฐกิจ
ทฤษฎีทันสมัย
ทฤษฎีการพัฒนาเชิงมิติทางสังคม/มนุษย์
ทฤษฎีทางสังคม
ทฤษฎีหลังสมัยใหม่
ทฤษฎีการเคลื่อนไหวทางสังคม
ทฤษฎีสตรีนิยม
ทฤษฏีระบบสังคมแนวดาร์วิน
ทฤษฎีมาร์ก
ทฤษฎีการกระทำระหว่างกันทางสังคม
ทฤษฎีขวาใหม่
ทฤษฎีเสรีนิยม
ทฤษฎีระบบการงานหน้าที่
ทฤษฎีสมัยใหม่นิยม
3. จริยธรรม วินัย และบทบาทในการพัฒนา
วินัยในการพัฒนา
การตรวจสอบตนเอง
การปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
คุณลักษณะของการปฏิบัติงาน
การเสริมสร้างวินัย
ข้อปฏิบัติของนักพัฒนา
ไม่นินทาว่าร้ายชาวบ้าน
ไม่ใช้ภาษาที่เป็นนามธรรมในการสื่อความหมายกับชาวบ้าน
ไม่ตำหนิติเตียนความคิดเห็นของชาวบ้าน
ไม่ใช้กลอุบายหรือชักจูงชาวบ้านให้เห็นด้วยกับตน
ไม่ดูถุกชาวบ้านว่าไม่มีความสามารถ
ไม่ยัดเยียดค่านิยมของตนให้ชาวบ้าน
ไม่ประพฤติตนผิดประเวณีกับลูก หรือภรรยา สามี ชาวบ้าน
ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป้นความลับของชาวบ้านต่อบุคคลภายนอก
ไม่สัญญาว่าจะให้สิ่งนั้นสิ่งนี้ให้
ไม่ออกคำสั่งบังคับชาวบ้าน
ไม่ตัดสินใจเรื่องต่างๆแทนชาวบ้าน
ไม่สร้างระบบพึ่งพิงที่ชาวบ้านจะต้องพึ่งพิงนักพัฒนาตลอดไป
บทบาทของนักพัฒนา
คุณลักษณะของนักพัฒนา
ความคาดหวังต่อการพัฒนา
จริยธรรมในการพัฒนา
ความสำคัญ
เพื่อให้การทำงานพัฒนามีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล ไม่ก่อให้เกิดปัญหาระหว่างปฏิบัติงาน หรือผลกระทบตามมาภายหลัง
ความหมาย
ระบบกฎเกณฑ์ทางศิลธรรมที่ว่าด้วยการประพฤติปฏิบัตและการครองชีพของมนุษย์ว่าอะไรดี อะไรชั่วอะไรถูกอะไรผิด
จริยธรรมนักพัฒนา
หลักราชการ 10 ประการ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
คุณธรรม 4 ประการ ของรัชกาลที่ 9
พรหมวิหาร 4
การทำงาน คือการปฏิบัติธรรม
จริยธรรมของสถาบันนาชาติเพื่อการฟื้นฟูชนบท
การทำงานโดยยึดจริยธรรม
หลักการทรงงาน 23 ประการ ของรัชกาลที่ 9
2.แนวคิดและปรัชญาในการพัฒนาชนบท
ความหมายและความสำคัญในการพัฒนาชนบท
ความหมายชนบท
มีความเป็นอนุรักษ์นิยม
ความหนาแน่นประชากรต่ำ
พื้นที่ดินส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม
พื้นที่ที่ไม่ใช่เมือง
ความสำคัญของการพัฒนาชนบท
เป็นการแก้ปัญหาความยากจนทั้งที่เห็นเป็นรูปธรรม หรือไม่ปรากฎชัดในลักษณะของนามธรรม ได้แก่ ความขาดแคลนทรัยพ์ ความไม่สามารถ ความไม่รู้ ล้วนเป็นที่มาแห่งความเลวร้ายทั้งปวงของประชากรและประเทศชาติ เมื่อชนบทเป็นแหล่งที่มีความยากจนมากที่สุด ชนบทจึงมีความสำคัญในการพัฒนา
ปรัชญาการพัฒนาชนบท
หลักศักยภาพของชุมชน(Community Potentiality)
หลักภูมิปัญญาท้องถิ่น(Lcal Wisdom)
หลักการพัฒนาและส่งเสริม
หลักการพัฒนาชนบท
การเรียนรู้(Learning)
การมีส่วนร่วม(Participation)
การพึ่งตนเอง(Self-Reliance)
ชุมชนเข้มแข็ง(Strong Community)