Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู - Coggle Diagram
บทที่ 6
ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
1. ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
แนวทางการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของครู
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ความกล้าและความคุ้นเคยในการใช้ภาษาอังกฤษผ่านการใช้จริงในชีวิตประจำวัน
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ ครูควรนำเอาภาษาอังกฤษไปบูรณาการกับงานสอน ซึ่งเป็นช่องทางหนึ่งในการพัฒนาภาษาอังกฤษให้ครู
2. การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
2.1 กรอบสมรรถนะวิชาชีพครูในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
. การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ประกอบด้วยภาระงาน และความสามารถเฉพาะ
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับการเรียนการสอน
2.2 สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
สมรรถนะหลัก (Core Competency) 5 ประการ
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน
การบริการที่ดี
การพัฒนาตนเอง
การทำงานเป็นทีม
จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
3. การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล (World- Class Standard School) และการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (World – Class Standard)
3) ต้องมีการพัฒนาทักษะการคิดมากขึ้น
4) ต้องมีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น
2) หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น
5) การสอนภาษาต่างประเทศต้องมีประสิทธิภาพมากขึ้น
1) โรงเรียนต้องเป็นหน่วยบริการทางการศึกษาในมิติที่กว้างขึ้น
กำหนดให้มีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพเป็น 3 ระดับ คือ
ระดับที่ 2
การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA)
ระดับที่ 3
การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับชาติ (Thailand Quality Award : TQA)
ระดับที่ 1
การบริหารจัดการระบบคุณภาพ ระดับโรงเรียน (School Quality Award : SCQA)