Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท9 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ (Administering intravenous (iv) therapy) -…
บท9 การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ (Administering intravenous (iv) therapy)
วัตถุประสงค์
เพื่อแก้ไขภาวะไม่สมดุลของสารน้าและอิเลคโทรไลด์ที่สูญเสียไป อย่างรวดเร็ว
เพื่อป้องกันภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเลคโทรไลด์
เพื่อให้ยาทางหลอดเลือดดำเนื่องจากยาบางชนิดไม่สามารถดูดซึม เข้าสู่ระบบทางเดินของอาหารหรือรับประทานทางปากแล้วถูกทำลายโดยน้ำย่อยจากกระเพราะอาหาร
ข้อควรปฏิบัติและบทบาทของพยาบาลในการให้สารน้ำ
ยึดหลัก Aseptic technique อย่างเคร่งครัด
ตรวจสอบชนิดของสารน้ำท่ีให้จำนวนวันหมดอายุลักษณะของสารละลาย
ตรวจสอบความเรียบร้อยของถุงหรือขวดสารน้ำไม่อยู่ในสภาพที่ชารุดเสียหาย
เลือกชนิดของชุดให้สารน้ำ และ/หรือเครื่องควบคุมปรับหยดการให้สารน้ำ (Infusionpump)ใหเ้หมาะสมตามแผนการรักษาของแพทย์
เลือกตำแหน่งหลอดเลือดดำที่จะแทงเข็มให้ถูกต้องเหมาะสม
ควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำให้ถูกต้องตามขนาดและเวลาตามแผนการรักษาของแพทย์
ทำความสะอาดบริเวณตาแหน่งท่ีแทงเข็ม
จดบันทึกปริมาณสารน้ำที่เข้าและขับออกจากร่างกาย
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution
มีความเข้มข้นเท่ากับน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid)
ใช้รักษาผู้ที่มีการเสียน้ำนอกเซลล์มาก เช่น อาเจียน ท้องเดินหรือมีเลือดออกผิดปกติ
5%dextroseinwater(D5W)
0.9% NaCl (normal saline)
Lactated Ringer’s solution
Hypertonic Solutions
ควรให้ในปริมาณน้อยและให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องกันมิให้ ความดันเลือดเพิ่มขึ้น
5% dextros in 0.45% Nacl
ผู้ป่วยท่ีมีการสูญเสียโซเดียมจำนวนมากๆและผู้ป่วยท่ีมีน้าคั่งในเซลล์เพื่อช่วยให้มีการดึงน้ำออกเซลล์ เช่น เน้ือสมองบวม
10% dextros in water (D10W)
5% dextros in 0.9% Nacl (normal saline)
Hypotonic Solutions
0.33 NaCl ( 1/3 strength saline)
0.45 NaCl ( 1⁄2 strength saline)
มีประโยชน์ในการทดแทนน้ำที่ร่างกายสูญเสียโดยไม่ต้องการให้ระดับ ของโซเดียมในพลาสมาสูงขึ้น
การเคลื่อนของน้ำเข้าสู่เซลล์ซึ่งมีผลทำให้เซลล์ ขยายตัวและบวมเซลล์แตกได้
ขนาดของสารน้ำ
สารน้ำที่ใช้โดยทั่วไปมีขนาด 500 มิลลิลิตร หรือ 1000 มิลลิลิตร บรรจุอยู่ในถุงพลาสติกที่มีความยืดหยุ่นหรือขวดพลาสติกชนิดแข็งซึ่งเป็นสูญญากาศ
สารน้ำขนาด 50 มิลลิลิตร 100 มิลลิลิตร และ 250 มิลลิลิตร ใช้สำหรับผสมยาที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
ตำแหน่งหลอดเลือดดำที่ใช้แทง (Venipuncture sites)
หลอดเลือดดำบริเวณท้องแขน ( Accessory cephalic vein, Median antebrachial vein, Median cubital vein)
หลอดเลือดดำบริเวณหลังมือและแขน (Dorsal venous network , Cephalic vein , Basilic vein )
ข้อปฏิบัติในการเลือกหลอดเลือดดำสำหรับให้สารน้ำ
ไม่ควรใช้ antecubitalvein ถ้ายังมีหลอดเลือดอื่นที่พอจะหาได้
ไม่ควรใช้หลอดเลือดที่ขาเนื่องจากอาจเกิดอันตรายการไหลเวียนของเลือดไม่ดีได้ง่าย
ตรวจสอบบริเวณตาแหน่งท่ีจะแทงเข็มว่ามีสภาพท่ีเหมาะสม
ไม่ใช้หลอดเลือดดำบริเวณท่ีได้รับการผ่าตัด
เลือกหลอดเลือดดาของแขนข้างที่ผู้ป่วยไม่ถนัดก่อน
ในทารกแรกเกิดให้แทงเข็มบริเวณ scalp vein
คำนึงถึงชนิดของสารน้ำที่ให้สารน้ำชนิด hypertonic
ผู้ป่วยที่ให้ยาทางหลอดเลือดดำเช่นยาปฏิชีวนะ โปตัสเซียมคลอไรด์ อาจมีการระคายเคืองและปวด บริเวณหลอดเลือด
ควรเปลี่ยนตำแหน่งหลอดเลือดทุก 72-96 ชม.
หลีกเลี่ยงการแทงเข็มบริเวณข้อ
การเตรียมอุปกรณ์สำหรับให้สารน้ำ
ชนิดของชุดให้สารน้ำ
ชุดใหสารน้ำชนิดหยดใหญ่ (Macrodrip)
ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก (Microdrip )
ชุดให้สารน้ำชนิดควบคุมปริมาตร (Volume controlled set (Solu set)
เข็มแทงหลอดเลือดดำ
Butterfly needle
IV catheter
เข็มท่อพลาสติก
Introducer needle
ปลอกพลาสติก
หัวต่อชนิด 3 ทาง (3 – way stopcock)
สายรัดแขน (Tourniquet)
ถุงมือสะอาด (disposable gloves)
เสาแขวนถุง/ขวดสารน้ำ(Iv pole)
อุปกรณ์อื่นๆ คือ สำลีปลอดเชื้อแอลกอฮอล์ 70% แผ่นโปร่งแสงปิด ตำแหน่งท่ีแทงเข็ม (transparent dressing) หรือก๊อซปลอดเชื้อ ไม้รองแขน พลาสเตอร์
การเตรียมขวดสารน้ำ
ทำเครื่องหมายแสดงระดับสารนำ้ตามเวลา(ชม.)ท่ีผ้ป่ วยควรได้รับ ตรงด้านท่ีแสดงสเกล ซึ่งมี 2แบบคือแบบเปิด(open)หรือแบบปิด(close)กบับรรยากาศ
ปิดป้ายชนิดสารนา้ที่ข้างขวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ตรวจสอบชนิดและขนาดของสารนา้ ตามคาสั่งการรักษาของแพทย์และเขียนป้ายบอกชื่อผู้ป่วยเตียง/ห้อง ชนิดของสารน้ำ ขนาดยาที่ผสม(ถ้ามี)จำนวนหยดต่อนาที วันที่ เวลาที่เริ่ม เวลาหมด
ข้อควรระวังในการควบคุมอัตราการหยดของสารน้ำ
คำสั่งการรักษา KVO (keep vein open) หมายถึงการปรับอัตราหยดช้าๆ แต่ไม่ต่ำกว่า 10-15มล./ชม.
ควรตรวจสอบอัตราการหยดของสารน้ำอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
การแทงเข็มเข้าหลอดเลือดดำ
เช็ดผวิ หนังด้วยสาลชี ุบแอลกอฮอล์ 70 โดยเช็ดวนออกโดยรอบหรือเช็ด ไปทางเดียวกนั เพอื่ ลดจานวนเชื้อโรค
ถอดปลอกเขม็ออกจากหัวเขม็ด้วยเทคนิคไร้เชื้อระวังปลายเขม็สัมผสั สิ่งปนเปื้อนใช้มือข้างที่ถนัดจับเขม็โดยให้ปลายด้านตัดของเขม็ อยู่ ด้านบน
เลอืกและคลาหลอดเลอืดดาทจี่ะให้สารนา้โดยรัดสายยางเหนือ บริเวณทจี่ะแทงเข็ม5-6นิว้ ถ้าเป็นตาแหน่งทบี่ริเวณหลงัมอื บอกให้ผู้ป่วยกามอื เพอื่ ให้เห็นเส้นเลอื ดชัดเจน
สวมถุงมอื สะอาด เพอื่ ป้ องกนั ตนเองไม่ให้สัมผสั เลอื ดซึ่งอาจมี การปนเปื้ อนเชื้อโรค
จดั ให้ผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงายโดยให้แขนข้างทใี่ ห้สารนา้ อยู่ข้าง ลาตวัหรือจดั อยู่ในท่าน่ังพร้อมมอืวางไว้บนโต๊ะขวางเตยีง