Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่9 การพยาบาลผู้ที่ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำเเละผู้ที่ได้รับเลือด,…
บทที่9
การพยาบาลผู้ที่ได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำเเละผู้ที่ได้รับเลือด
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ข้อควรปฏิบัติเเละบทบาทของการพยาบาล
ในการให้สารน้ำ
1.ยึดหลัก Aseptic technique อย่างเคร่งครัด
2.ตรวจสอบชนิดของสารน่ำที่ให้ จำนวน วันหมดอายุ ลักษณะ
3.เลือกชนิดของชุดให้สารน้ำ
4.เลือกตำเเหน่งหลอดเลือดดำที่จะเเทงเข็ม
5.ควบคุมอัตตราการหยดของสารน้ำให้ถูกต้อง
6.ทำความสะอาดบริเวรตำเเหน่งที่จะเเทงเข็ม
7.จดบันทึกปริมาณสารน้ำที่เข้าเเล้วขับออกจากร่างกาย
ชนิดของสารน้ำที่ให้ทางหลอดเลือดดำ
Isotonic solution จะมีความเข้มข้มเท่ากับน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid)
-ใช้รักษาผู้ที่มีการเสียน้ำออกนอกเซลล์มาก เช่น อาเจียน ท้องเดิน หรือเลือดออกผิดปกติ
Hypertonic Solutions สารละลายชนิดที่มีแรงดันออสโมติกมากกว่าblood serum (> 295 mOsm/l)
-ข้อควรระวัง ควรให้ในปริมาณ น้อยและให้อย่างช้าๆ เพื่อป้องกันมิให้ ความดันเลือดเพิ่มขึ้น
3.Hypotonic Solutions สารละลายชนิดนี้มีความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์เป็นครึ่งหนึ่งของสารละลาย Isotonic
การเตรียมอุปกรณ์สำหรับให้
1.ชุดให้สารน้ำ (IV infusion set)
ชนิดของชุดให้สารน้ำ
1.ชุดให้สารน้ำชนิดหยดใหญ่ (Macrodrip)
2.ชุดให้สารน้ำชนิดหยดเล็ก(Microdrip)
3.ชุดให้สารน้ำชนิดควบคุมปริมาตร
(Volume controlled set (Soluset))
2.เข็มเเทงหลอดเลือดดำ
2.1 Butterfly needle
2.2 IV catheter
3.หัวต่อชนิด 3 ทาง (3-Way stopcock)
สายรัดแขน (Tourniquet)
5.ถุงมือสะอาด (disposable gloves)
6.เสาแขวนถุง/ขวดสารน้ำ
7.อุปกรณ์อื่นๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการไหลของสารน้ำ
1 . ตำแหน่งของแขน ขณะเปลี่ยนท่า อาจทำให้อัตราการไหลของสารน้ำลดลงการใช้หมอนรองใต้แขนสามารถทำให้การไหลของสารน้ำเพิ่มขึ้น
2.ตำเเหน่งของสายอาจถูกกดทับจากการนอนทับ หักพับ การปิดของClampทำให้สารน้ำหยุดไหล
3.ความสูงของขวดสารน้ำ
4.การรั่วของสารน้ำออกนอกเส้นเลือดดำ
5.ขนาดของเข็มที่ใช้เเทงหลอดเลือด
6.การมีลิ่มเลือดอุดตันที่ปลายเข็ม
การเปลี่ยนชุดสายให้สารน้ำ
1.ชุดสารน้ำชนิดธรรมดา พยาบาลควรเปลี่ยนทุก
24-72ชั่วโมงป้องกันการติดเชื้อ
2.ชุดสารน้ำชนิด soluset ควรเปี่ยนทุก5วัน
-เขียนเเถบป้ายเล็กระบุ วัน เดือน ปี ที่เริ่มใช้ชุดสารน้ำ
-ข้อระวัง หลังการเปลี่ยนชุดสารน้ำ คือการไล่ฟองอากาศให้หมดและต่อปลายข้อต่อกับหัวเข็มให้แน่น
อาการเเทรกซ้อนจากการให้สารน้ำ
• หลอดเลือดดำอักเสบ (phlebitis)การแก้ไข เปลี่ยนตำแหน่งที่แทงเข็มใหม่ ประคบด้วยความเย็นสลับร้อนหรือแพทย์อาจให้ยาทาเพื่อลดความเจ็บปวดและการอักเสบ
•ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลือด (air embolism)การแก้ไข รายงาน เเพทย์ทันที
• การมีสารน้ำมากกว่าปกติในระบบหลอดเลือด (circulatory overload)
• ปฏิกิริยาสารไพโรเจน เกิดมีสารไพโรเจนปนเปื้อน
การเตรียมผู้ป่วย
บอกวัตถุประสงค์เเละขั้นตอนการทำเเละอธิบายเเผนการรักษา ระยะเวลาที่ให้ ปริมาณสารน้ำที่ได้รับ เพื่อเป็นการให้ข้อมูล คำนึงถึงสิทธิผู้ป่วย ลดความวิตกกังวลผู้ป่วยจะได้ให้ความร่วมมือตามเเผนการรักษาของเเพทย์
การเตรียมขวดสารน้ำ
1ตรวจสอบชนิดและขนาดของสารน้ำ
ตามคำสั่งการรักษาของแพทย์เเละเขียนป้ายบอกชื่อผู้ป่วยเตียง/ห้องชนิดของสารน้ำ ขนาด ยาที่ผสม(ถ้ามี)
จำนวนหยดต่อนาที วันที่ เวลาที่เริ่ม เวลาหมด
2.ติดป้ายชนิดสารน้ำที่ข้างขวดตามเเผนการรักษาของเเพทย์
3.แผนการรักษาของแพทย์ทำเครื่องหมายแสดงระดับสารน ้าตามเวลา(ชม.)ที่ผู้ป่วยควรได้รับ
การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด
ส่วนประกอบของเลือด
Whole blood คือเลือดที่เจาะเก็บจากผู้บริจาคโดยตรง บรรจุในถุงปลอดเชื้อ
Packed red cell (PRC) คือเลือดที่ปั่นแยกเอา plasma ออก
FFP (Fresh Frozen Plasma) 1 unit มีประมาณ 200-300 cc มีโปรตีน
Platelet concentrate 1 unit มีประมาณ 50 cc มีอายุประมาณ 5 วันเก็บที่อุณหภูมิ 20-24c และต้องเขย่าตลอดเวลาเพื่อป้องกันการจับกลุ่มกัน
Cryoprecipitate เป็นตะกอนโปรตีนที่ทําการแยกมาจาก FFP โดย 1 unit มีประมาณ 10-20 cc
Granulocyte concentrate ให้ผู้ป่วยที่มี absolute neutrophil count < 500
ขั้นตอนก่อนการให้เลือด
เตรียมความพร้อมผู้ป่วย
เตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์และเครื่องมือในการให้เลือด
เตรียมการขอเลือด
ขั้นตอนหลังให้เลือด
1.ให้การรักษาแบบประคับประคองหากเกิดอาการที่เป็นผลข้างเคียง
ช่วยเหลือกิจวัตรประจําวัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเต็มที่ ระบายอากาศได้ดี