Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม (Existentialism) กับการศึกษา, (พรบ การศึกษาแห่งชาติ,…
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม
(Existentialism)
กับการศึกษา
การจัดการศึกษา
ความมุ่งหมาย
ช่วยผู้เรียนให้รู้จักตัวเอง
รู้จักใช้เสรีภาพในการเลือก
มีความรับผิดชอบต่อการตัดสินใจของตน
**เป็นตัวของตัวเอง
ให้ผู้เรียนได้พฒนาตนเองอย่างเต็มที่
หลักสูตร/เนื้อหา
หลักสูตร
ไม่ใช่ความรู้สากล
เครื่องมือช่วยบุคคลรู้จักตัวเอง
กระตุ้นให้สำรวจตนเอง
เนื้อหา
ศิลปะ
สร้างสรรค์งานเอง
ดนตรี
เต้นรำ
การแสดง
เขียนเรื่อง
วาดภาพ
ฯลฯ
เกียวกับเกณฑ์ตัดสินใน
กระตุ้นให้ตัดสินใจ
ประวัติศาสตร์
วรรณคดี
จริยธรรม
หลักสูตรไม่ควรมีขอบเขต
ผู้เรียนกำหนดเอง
วิธีการเรียนการสอน
ผู้เรียน
เป็นผู้นำ
กำหนดทิศทางเอง
ผู้สอน
ให้อิสระแสวงหาความรู้
ให้อิสระที่จะเป็น
เข้าใจในปัจจเกบุคคล
ให้อิสระในการเลือก
วัดประเมิน
ให้นักเรียนสะท้อนตัวตน
บรรยาย พรรณนา
ประเมิน มุ่งช่วยเหลือผู้เรียน
การประเมินไม่ใช่การตัดสิน
ธรรมชาติมนุษย์
สนใจสิ่งเฉพาะ>สิ่งสากล
สนใจโลกของบุคคล>โลกมนุษย์
ความจริงของมนุษย์
มนุษย์เกิดมาตัวเปล่า
เสรีภาพ
ดิ้นรนเพื่อมีอยู่
พลักตัวเองไปข้างหน้าตลอด
ไม่มีลักษณะสากล
มนุษย์เป็นจิตที่ว่างเปล่า
ไม่ได้สิ่งใดติดตัวมาเลย
จึงแสวงหาความรู้จากภายนอก
ธรรมชาติของความรู้
โลกและจักรวาล
โลกไร้เหตุผล
ว่างเปล่าไม่มีอะไร
มนุษย์เป็นคนสร้างความหมาย
ความจริงของโลก
ความเข้าใจ
สติปัญญา
ความรู้สึก
การแปลความหมาย
เกิดจาก
โลกปัจเจกบุคล
ไม่สากล
ไม่เป็นระบบ
เพียงสมมติ
ไม่แน่นอน
มาจากภายในตัวบุคคล
ความสำนึก
ความรู้สึก
ประสบการณ์
มีลักษณะเฉพาะส่วนบุคคล
ไม่มีเกณฑ์ตัดสินความรู้
ผู้สร้างความรู้จะเป็นผู้ตัดสิน
พรบ การศึกษาแห่งชาติ
มาตรา 7
ประชาธิปไตร
สิทธิเสรีภาพ
รู้จักตนเอง
คิดสร้างสรรค์
เป็นตัวของตนเอง
กล้าเลือก ตัดสินใจ
ให้โอาสอย่างอิสระ
มาตรา6,10
พัฒนาให้สมบูรณ์ทุกด้าน-6
พัฒนาความเป็นมนุษย์อย่างเต็มที่
ช่วยให้เข้าใจตนเอง
ทุกคนมีสิทธิศึกษา-10
ทุกคนเกิดมาว่างเปล่า
เท่าเทียม สิทธิเท่ากัน
มาตรา 29
จัดแหล่งเรียนรู้
แลกเปลี่ยนประสบการณ์
เน้นเสรีภาพส่วนบุคค
ความรู้ไม่สากล ไม่แน่แนอน
อิสระในการแสวงหาความรู้
มาตรา 24
จัดการเรียนรู้สอดคล้องกับความถนัด สนใจ
ไม่ต้องมีหลักสูตร
ผู้เรียนกำหนดทิศทาง
ที่มา
โสกราตีส
รู้จักตัวเอง
เราเป็นอะไร
มีปัญหาอะไร
ปรัชาแท้จริง ช่วยให้เข้าใจตน ช่วยให้รู้ปัญหา
ไม่เป็นที่ยอมรับ
5 BC
ฟรีด์ริค นิตเซ่
เสนอให้มนุษย์ออกจากกรอบ
การอยู่ในกรอบ=เลี่ยงความรับผิดชอบ
มนุษย์ 2 แบบ
ถือธรรมแบบนาย
มั่นใจ
ยึดอุดมการณ์
เป็นตัวเอง
ถือธรรมะแบบทาส
ไม่กล้า
เดินตามหลักการ
ปลอดภัยเมื่ออยู่ในกรอบ