Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3
การวัดสัญญาณชีพเเละการดูเเลผู้ป่วยก่อนเเละหลังผ่าตัดเเละการดูเเลผ…
บทที่ 3
การวัดสัญญาณชีพเเละการดูเเลผู้ป่วยก่อนเเละหลังผ่าตัดเเละการดูเเลผู้ป่วยใกล้ถึงเเก่กรรมเเละ
ผู้ป่วยถึงเเก่กรรมอย่างสมศักดิ์ศรี
-
-
-
-
ชีพจรหรือการเต้นของหัวใจ
1.1 ใช้ปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง วางแตะลงบนตําแนงเส้นเลือดแดงที่ข้อมือด้านนอก (แนวเดียวกับหัวแม่มือ) กดเบา ๆ
1.2 นับการเต้นของชีพจรให้เต็ม 1 นาทีพร้อมกับสังเกต จังหวะการเต้น
1.3 การนับอัตราการเต้นของหัวใจ (Heart rate)
1.4 บันทึกจานวนครั้งของชีพจร ความหนัก / เบา และจังหวะการเตนของชีพจร เพื่อใช้เปรียบเทียบลักษณะการเต้นของชีพจรในแต่ละครั้ง
- ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจ
-
- สิ่งที่ต้องสังเกตในขณะคลําชีพจร
3.1 อัตราเร็วอัตราเร็วของชีพจรปกติของผู้ใหญ่
โดยทั่วไปประมาณ 60–100 ครั้งต่อ
นาที ส่วนอตราเร็วของชีพจรของเด็กประมาณ 90–130 ครั้งต่อนาที
3.2 ความแรงของชีพจร (Volume of pulse)
3.3 จังหวะ (Rhythm)
ความดันเลือด
- ค่าความดันเลือด
1.1 ค่าความดันเลือดในขณะที่หัวใจบีบตัว
1.2 ค่าความดันเลือดในขณะที่หัวใจคลายตัว
- ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความดันเลือด
2.1 การทํางานของหัวใจ
2.2 ปริมาณเลือดในร่างกาย
2.3 ความเข้มข้นของเลือดหรือความหนืดของเลือด
2.4 ขนาดของเส้นเลือด
2.5 ความยืดหยุ่นของเส้นเลือด
- สาเหตุที่ทําให้ความดันเลือดเปลี่ยนแปลงในคนปกติ
3.1 อายุในผู้ใหญ่อายุเกิน 25 ปีขึ้นไป
3.2 อิริยาบทขณะวัดความดันเลือดและการออกกําลังกาย
-
-
-
-
-
-
-
-
-