Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน…
การส่งเสริมครูในเรื่องของประเด็นและทักษะพื้นฐานในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
๑.วัตถุประสงค์
นศ.ครูตระหนักถึงความสำคัญของหลักการประเด็นและคำแนะนำทางจริยศาสตร์ที่ใช้ในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
มีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นในการให้คำปรึกษา
ใช้ทักษะพื้นฐานที่จำเป็นในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนที่ประสบปัญหาได้
๑๒.ข้อคิด
๔.การเคารพในตัวผู้เรียนและการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เรียน
เพศ
สถานภาพทางสังคม
วัฒนธรรม
ชาติพันธุ์
ศาสนา
ความไว้ใจได้
ครูให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนในห้องพักครูแทนที่จะเป็นที่สาธารณะ
ยกเว้น
สถานการณ์ที่เป็นอันตราย
การฆ่าตัวตาย
การฆาตกรรม
สถานกาณ์ทางกฏหมายที่จำเป็นต้องให้การต่อศาล
การดูแลเอาใจใส่
ครูมือใหม่อย่าพยายามทำตัวเป็น "วีรบุรุษ" เพราะสิ่งที่จะต้องเผชิญมันหนักหนา
ครูมือใหม่จำเป็นต้องอาศัยความช่วยเหลือจากครูผู้มีวุฒิสูงกว่า ผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานภายนอก
๒.บทนำ
ผู้เรียนส่วนมากมาขอคำปรึกษาจากครู
พวกเขาไม่สามารถแก้ปํญหาด้วยตนเองได้
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างถูกวิธี
ผู้เรียนต้องการค้นพบวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ
ทักษะที่จำเป็นในการให้คำปรึกษา
การมีส่วนร่วม
การเป็นผู้ฟังที่ดี
ศิลปะในการเอาใจใส่
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายตนเอง
ปัญหาของผู้เรียน
การมีพฤติกรรมที่สร้างความเสียหายอย่างรุ่นแรง
การไม่เชื่อฟังครู
การสับสนในตนเอง
การรู้สึกผิดเนื่องจากไม่สามารถทำตามความหวังของผู้ปกครองได้
การกลัวอย่างไม่มีเหตุผล
การวิตกกังวลกับการสอบ
การติดยาเสพติด
๓.ประเด็นหลักและหลักจริยศาสตร์ที่สำคัญในการให้คำปรึกษา
หลักจริยศาสตร์หมายถึง ระบบของหลักการในการปฏิบัติที่นำไปสู่การสร้างพฤติกรรมของแต่ละบุคคล
การเคารพในตัวผู้เรียนและการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้เรียน
การเตรียมการให้คำปรึกษาในโรงเรียน
ทักษะในการมีส่วนร่วม
ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ศิลปะในการเอาใจใส่
ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายตนเอง
๕.การเตรียมการให้คำปรึกษาในโรงเรียน
ผู้เรียนที่ประสบปัญหา
ปัญหาทางวิชาการ/ระเเบียบวินัย
ครูประจำชั้น/ครูประจำรายวิชา
สำเร็จ
จบปัญหา
ไม่สำเร็จ
หัวหน้าฝ่ายวินัย/ครูฝ่ายปกครอง
อาจารย์ใหญ่/รองอาจารญ์ใหญ่
ไม่สำเร็จ
หน่วยงานภายนอก เช่น องค์กรสวัสดิการสังคม ตำรวจ
ปััญหาทางสังคม/อารมณ์
ครูประจำชั้น/ครูประจำรายวิชา
สำเร็จ
จบปัญหา
ไม่สำเร็จ
หัวหน้าฝ่ายสวัสดิการผู้เรียน/ที่ปรึกษาของโรงเรียน/ครูที่ปรึกษา
ไม่สำเร็จ
หน่วยงานภายนอก เช่น องค์กรสวัสดิการสังคม ตำรวจ
๖.ทักษะในการมีส่วนร่วม
ครูร่วมมือกับผู้เรียน
ทางกายภาพ
ทางจิตวิทยา
การเผชิญหน้ากับผู้เรียน
การใช่ท่าทางที่เปิดเผย
นั่งไขว้แขน
ไขว้ขา
การโน้มตัวเข้าหาผู้เรียน
ครูสนใจที่เธอพูดนะ
การสื่อสารทางสายตา
ครูเข้าใจเธอ
อยากฟังครูพุดนะ
สงบ ผ่อนคลายและเป็นธรรมชาติ
อยู่เฉยๆ ไม่เบี่ยงเบนความสนใจ
ทาวสีหน้า
การกระทำ
๙.ทักษะในการเป็นผู้ฟังที่ดี
ผู้ให้คำปรึกษา
จับใจความ
ทำความเข้าใจกับข้อความ
๑.สังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจาของผู้เรียน/การสังเกตและทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจา
พฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจา
ท่าทาง
การแสดงออกทางสีหน้า
โทนเสียง
การตอบสนองทางรางกายที่สามารถเห็นได้ชัด
การหายใจเร็ว
การหน้าแดง
ลักษณะทางกายภาพ
ส่วนสูง
นำ้หนัก
สีผิว
ลักษณะภายนอกทั่วไป
พฤติกรรมที่ไม่แสดงออกด้วยวาจาจะสื่อสารแทนวาจาออกมาได้
สีหน้าแช่มชื้นขึ้น
ใช่เลยครับ(นำ้เสียงที่มีชีวิตชีวา)
๒.ฟังและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อ/การฟังและทำความเข้าใจกับข้อความที่ผู้เรียนต้องการสื่อ
พฤติกรรม
ประสบการณ์
ความรู้สึก
ครูต้องให้ความกระจ่างแก่ผู้เรียน
๓.ฟังและทำความเข้าใจกับตัวผู้เรียนจากสังคมแวดล้อมของพวกเขา/การฟังและทำความเข้าใจกับตัวผู้เรียนจากสังคมแวดล้อม
บริบทของสังคมที่แวดล้อมนักเรียน
ครอบครัว
ห้องเรียน
โรงเรียน
เพื่อนบ้าน
ที่สำคัญ
รับฟังที่ผู้เรียนพูด
ทำความเข้าใจพวกเขาว่าเป็นใคร มาจากที่ไหน
๔.รับฟังสิ่งที่ผู้เรียนพูด/การท้าทายความคิดเห็นที่บิดเบือน
ความรู้สึกของผู้เรียน
เกี่ยวกับตนเอง
ผู้อื่น
โลก
สิ่งเหล่านี้อาจจะบิดเบือนจากความเป็นจริง
๑๐.การช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักท้าทายตนเอง
การท้าทายให้ผู้เรียนรู้ว่าปัญหาของพวกเขานั้นสามารถแก้ไขได้
ครูต้องช่วยชี้ทางสว่าง
การท้าทายความแตกต่างและความบิดเบือน
การท้าทายความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ผู้เรียนคิดและรู้สึก
ให้ผู้เรียนปล่อยอดีตให้ผ่านไป หันมาสนใจปัจจุบันและอนาคต
การท้าทาย
การสำรวจความคิด
พฤติกรรมที่ไม่เป็นผลดีต่อตนเอง
พฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อผู้อื่น
จะสามารถเติมเต็มข้อบกพร่องของตนเองได้
ด้วยมุมมองใหม่ๆ
แปรเปลี่ยนไปเป็นการกระทำที่สร้างสรรค์ได้
๗.ศิลปะในการเอาใจใส่
การตอบแบบพื้นฐาน
ครูต้องระลึกไว้เสมอว่าสิ่งที่ผู้เรียนรู้สึกอาจไม่ตรงกับสิ่งที่ผู้เรีนแสดงออกมาในขณะที่พูดเสมอไป
ตั้งใจฟังผู้เรียนตลอดเวลา
ทำความเข้าใจต่อสิ่งที่ผู้เรียนพยายามจะบอกเล่าให้ฟัง
สิ่งที่ไม่ควรทำ
การตอบที่แย่
สำนวนซำ้ซาก
จำเจ
การตีความสิ่งที่ผู้เรียนต้องการบอกเล่าอย่างไม่เหมาะสม
๘.ศิลปะในการสืบสวนเรื่องราว
ให้ผู้เรียนพยายามอธิบายในสิ่งที่พวกเขาพลาดไป
การใช้ข้อความ
ครูเข้าใจว่าเธอกำลังโกรธมาก
ครูพอจะทราบว่ามันเป็นเรื่องอะไร
แต่บ้างทีครูอาจคิดผิดไป
บางทีเธอน่าจะบอกให้ครูฟังได้นะ
การใช้ข้อความสั้นๆ
คำหรือวลีสั้นๆ
การตั้งคำถาม
อย่าถามคำถามมากจนเกินไป
ตั้งคำถามที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีประโยชน์ต่อการให้คำปรึกษา
จงอย่าสนใจ
ใคร่รู้ข้อมูลที่ไม่จำเป็น
ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหาของผู้เรียน
๑๑.บทสรุป
หลักจริยศาสตร์
จำเป็นในการให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียน
ทักษะพื้นฐาน ๕ ประการ
เป็นประโยชน์กับครู
จะใช้ร่วมกับ
หลักจริยศาสตร์
คำแนะนำที่จำเป็นต่อการให้คำปรึกษาแก้ผู้เรียน
สุดท้ายครู ต้องระลึกเสมอว่าปัญหาของผู้เรียนเป็นสิ่งสำคัญ ไม่ใช่สนแต่เรื่องของตนเอง
นายหัฟพี อาแซ เลขที่ ๑๑ กลุ่มที่ ๖
รหัส ๖๒๒๐๑๖๐๔๓๕