Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย, image, image, image, image,…
บทที่ 8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
Rational Drug Use (RDU)
การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม
1.ไม่สบายต้องฉีดยาจึงจะหาย
2.ไม่มีเเรงต้องให้น้ำกลือ
3.หยุดยาเองหรือปรับยาเอง
4.กินยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ
ผลกระทบการใช้ยาที่ไม่สมเหตุสมผล
1.เกิดเชื้อโรคดื้อยา(antimicrobial resistance) มากขึ้น
2.ปัญหาด้านประสิทธิภาพของการรักษา
3.ปัญหาความคลาดเคลื่อน/ผลข้างเคียงของยา
4.ผู้ป่วนอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น
5.อัตตราการเสียชีวิต
6.สูญเสียทางเศรษฐกิจ40,000ล้านบาท/ปี
ผู้ป่วยได้รับที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพโดยใช้ใน
1.ขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยเเต่ละราย
2.ระยะเวลาเหมาะสม
3.มีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนเเละผู้ป่วยน้อยที่สุด
ความปลอดภัยในการบริหารยาของพยาบาล
จัดยาอย่างมีสติ และสมาธิ
2.จัดยาอย่างถูกต้อง เช่น 6R, 7R,10R
3.ถ้าไม่แน่ใจหรืออ่านไม่ออกให้ซักถาม และพูดคุย
4.ปรับปรุงข้อมูลของยาที่จะให้เเก่ผู้ป่วยอยู่เสมอ
5งข้อชี้บ่งต่างๆให้ถูกต้องเพื่อสร้างความสร้างความปลอดภัย
6.รายงานความเสี่ยง หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เมื่อเกิดขึ้น
7.เตรียมการเเก้ไขให้พร้อม เมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
ยาหมดอายุ
1.ยาที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์
2.ยาเเบ่งบรรจุล่วงหน้า
3.ยาที่ยังไม่เปิดใช้
4.ยาน้ำเชื่อม
5.ยาปฏิชีวนะชนิดผงแห้ง
6.ยาหยอดตา ยาป้ายตา หลังการเปิดใช้
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการบริหารยาตามหลัก10 R
1.Right drug/Right Medicine: การให้ยาถูกชนิด
2.Right Dose: ให้ยาขนาดถูกต้อง
3.Right time : ให้ตรงตามเวลา
4.Right route: ให้ถูกทาง
5.Right patient : ให้ผู้ป่วยถูกคน
6.Right education : การให้ความรู้ถูกต้อง
7.Right documentation : บันทึกถูกต้อง
8.Right to refuse : สิทธิในปฏิเสธยา
9.Right assessment :
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาและประเมินถูกต้อง
10.Right drug-drug interaction and evaluation :
การตรวจสอบปฏิกิริยาระหว่างกันของยา และประเมินถูกต้อง
การเรียกชื่อยา (Drug nomenclature)
ชื่อทางเคมี(Chemical name)
คือชื่อที่บอกถึงส่วนประกอบทางเคมีของยา
2.ชื่อสามัญ(Generic name)
เป็นชื่อที่ตั้งส าหรับยาแต่ละชนิดตั้งแต่เริ่มต้น
ผลิตออกมาก่อนที่ จะเปลี่ยนเป็นชื่อทางการ
3.ชื่อทางการ (Official name)
เป็นชื่อที่ผ่านการเห็นชอบอย่างเป็นทางการ
และพิมพ์อยู่ในตำรับยา
4.ชื่อการค้า (Trade name or Brand name)
เป็นชื่อที่บริษัทผู้ผลิต
ตั้งขึ้นและจดทะเบียนไว้ ส าหรับยาแต่ละชนิด
ส่วนประกอบคำสั่งยา
ชื่อผู้ป่วย
วัน เวลาที่เขียนคำสั่ง
ชื่อยาและรูปแบบของยา ชื่อยาควรเขียนชื่อสามัญทางยา (Generic name) ไม่ควรเขียนชื่อการ
ขนาดยา หากตัวเลขน้อยกว่าหลักหน่วย ควรใส่เลขศูนย์หน้าจุดทศนิยมเสมอ
ทางที่ให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายเซ็นแพทย์ผู้สั่ง
วิธีการให้ยา
1) การให้ยาทางปาก การให้ยาทางสายยาง
2) การให้ยาบริเวณผิวหนัง
3) การเหน็บยาทางช่องคลอด/ทวารหนัก
4) การให้ยาสูดดมทางปาก / จมูก
5) การหยอดหู/จมูก/ตา/ป้ายตา/
6) การฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
7) การฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
8) การฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
9) การฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำ
การคำนวณยา