Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 รูปเเบบเเละเเนวทางการส่งเสริม เเละพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7 รูปเเบบเเละเเนวทางการส่งเสริม เเละพัฒนาการเกษตร
รูปแบบเเละเเนวทางการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรตามจุดเน้น
พื้นที่เป้าหมาย
เเนวคิด
ในแต่ละพื้นที่มีความเเตกต่างกัน
พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับบริบทพื้นที่
ลักษณะสำคัญ
กำหนดพื้นที่เป้าหมาย
กำหนดเป้าหมายการพัฒนา
มีผู้ประสานงานพื้นที่
บริหารจัดการแปลงในด้านผลิตและการตลาด
รวมกลุ่มเกษตรกร
ประสานงานร่วมมือกับภาคเเละเครือข่าย
เเนวทาง
การเตรียมการ
การพัฒนาผู้ประสานงาน/ผู้จัดการพื้นที่
การดำเนินงาน
การติดตามและประเมินผล
ข้อควรพิจารณา
วิเคราะห์พื้นที่ให้ชัดเจน
ไม่ยึดติดพื้นที่การปกครอง
ประสานงานโดยมีศูนย์กลางคือพื้นที่
เเบ่งปัน ไม่แข่งขัน
บุคคลเป้าหมาย
แนวคิด
เน้นคนเป็นศูนย์กลางในการพัฒนา
เป็นการพัฒนา "ของคน โดยคน และเพื่อคน"
ลักษณะสำคัญ
เกษตรกรรายย่อย
กลุ่มเกษตรกร
เครือข่ายเกษตรกร
เเนวทาง
ข้อควรพิจารณา
เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของบุคคล
การส่งเสริมเหมาะสมตามบุคคลเป้าหมาย
สินค้าเเละบริการเป้าหมาย
เเนวคิด
ยึดตามสินค้าและบริการ
ลักษณะสำคัญ
กำหนดสินค้าและบริการเป้าหมาย
วิเคราะห์ความสามารถของพื้นที่
ผลิตสินค้าที่สอดคล้องกับสถานการณ์
เเนวทาง
การผลิตสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน
การพัฒนาระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตร
การผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
การผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นพืชอาหารและพืชพลังงาน
การพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร
ข้อควรพิจารณา
อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ของสินค้าและบริการ
นวัตกรรมสินค้าและบริการ
คุณภาพเเละมาตรฐาน
ตลาด
ศักยภาพการผลิตและปริมาณความต้องการของตลาด
การสื่อสารกับตลาดผู้บริโภค
รูปแบบเเละเเนวทางส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรตาม วัตถุประสงค์
เพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
เเนวคิด
เพิ่มศักยภาพการเเข่งขัน
เเนวทาง
พัฒนาด้านปัจจัยการผลิต
พัฒนาด้านโลจิสติกส์
พัฒนาด้านการตลาด
พัฒนาด้านการเงิน
พัฒนาด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
พัฒนาด้านการผลิต
ลักษณะสำคัญ
ส่งเสริมการขาย
ส่งเสริมแบบครบวงจร
ส่งเสริมการตลาดนำ
ส่งเสริมแบบหวังผลกำไรทางธุรกิจทางอ้อม
ข้อควรพิจารณา
ข้อมูลการตลาด
การจัดการ
ลักษณะนักจัดการ
วิเคราะห์การเกษตรทั้งห่วงโซ่อุปทาน
พร้อมรับความเสี่ยง
เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
มาตรการจูงใจ
เพื่อการพึ่งพาตนเอง
เเนวคิด
ให้เกษตรกรสามารถช่วยเหลือตนเองหรือพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
ลักษณะสำคัญ
พึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี
พึ่งตนเองได้ทางสังคม
พึ่งพาตนเองทางทรัพยากรธรรมชาติ
พึ่งตนเองได้ทางจิตใจ
พึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ
เเนวทาง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทฤษฎีใหม่ 3 ขั้น
ข้อควรพิจารณา
มีระดับขั้นการพัฒนา
วิเคราะห์การพึ่งพาตนเองได้
รูปเเบบเเละเเนวทางการส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรตามวิธีการทำงาน
แบบการฝึกอบรม เเละเยี่ยมเยียน
เเนวคิด
เยี่ยมเยียน
ฝึกอบรม
ลักษณะสำคัญ
ความเป็นมืออาชีพ
การทำงานภายใต้การบังคับบัญชาแบบเบ็ดเสร็จ
เนื้อหาอบรมเฉพาะด้าน
เวลาการทำงานที่แน่นอน
ความสม่ำเสมอในการเยี่ยมเยียน
เชื่อมโยงการส่งเสริมเเละการวิจัย
เชื่อถือได้
ข้อควรพิจารณา
ทำงานเเบบเเยกส่วน
สั่งงานจากบนลงล่าง
ขาดความยั่งยืน
เน้นการเยี่ยมเยียน
ภาระงาน
ไม่ยืดหยุ่น
ระบบสนับสนุน
แบบการมีส่วนร่วม
เเนวคิด
ใช้แบบบูรณาการร่วมกับรูปแบบการส่งเสริมอื่นๆ
เเนวทาง
เกษตรกร
นักส่งเสริม
ภาคีเครือข่าย
ลักษณะสำคัญ
กระจายอำนาจการตัดสินใจ
มีส่วนร่วมในกิจกรรม
เสมอภาค/เท่าเทียมกัน
พัฒนาขีดความสามารถตนเอง
จัดสรรผลประโยชน์
ข้อควรพิจารณา
ขาดความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
ได้มาปัญหาที่ชัดเจน
การใช้ทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ
การเตรียมความพร้อมให้ชุมชน
การสร้างโอกาส
แบบการบริการเบ็ดเสร็จ
เเนวทาง
เพิ่มจุดให้บริการในพื้นที่
สร้างเครือข่ายเกษตรกรต้นแบบ
สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
ทำแผนพัฒนาการเกษตร
จัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ถ่ายทอดองค์ความรู้
รวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม
บริการข้อมูลเเละประชาสัมพันธ์
ลักษณะสำคัญ
มีจุดให้บริการที่สะดวก
มีเกษตรกรต้นแบบ
มีหลักสูตรที่ชัดเจน
เน้นการปฏิบัติจริง
บริหารงานร่วมกัน
แผนพัฒนาเกิดจากชุมชน
ข้อควรพิจารณา
ความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติงาน
งบประมาณ
กฎ ระเบียบ
บทบาทหน้าที่
เเนวคิด
การรวบรวมบริการในด้านต่างๆ ณ จุดเดียวกัน
เเบบผสมผสาน
เเนวทาง
ลักษณะสำคัญ
ผสมผสานความรู้หลายสาขาวิชา
ผสมผสานรูปแบบ วิธีการ สื่อต่างๆ
แก้ไขปัญหาแบบเชื่อมโยง
ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับรู้ ร่วมเรียนรู้ ร่วมรับผล
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ให้เกิดการประหยัดทรัพยากร
ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานแบบบูรณาการ
ข้อควรพิจารณา
ศึกษาสภาพพื้นที่
ออกแบบรูปแบบผสมผสาน
ศึกษาลักษณะการทำงาน
ประเมินผล
เเนวคิด
ใช้รูปแบบต่างๆที่เหมาะสมกับวิธีการทำงานตามสภาพสถานการณ์จริง
เเบบโครงการ
ข้อควรพิจารณา
มุ่งผลลัพธ์ที่เกิดแก่กลุ่มเป้าหมายหลัก
พึ่งพาซึ่งกันและกัน
ความเป็นเอกภาพ
ความขัดแย้ง
ความยั่งยืนโครงการ
เชื่อมโยงกับภารกิจประจำ
เเนวทาง
วินิจฉัยปัญหา
กำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
ทำแผนปฏิบัติงาน
ดำเนินการตามแผน
ติดตาม ประเมินผล
ลักษณะสำคัญ
แบบลูกโซ่
แบบเครือข่าย
แบบระบบวงจร
เเนวคิด
ดำเนินการในระยะเวลาที่รวดเร็ว