Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5:การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ำการขับถ่ายอุจจาระปัสสา…
บทที่5:การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ำการขับถ่ายอุจจาระปัสสาวะ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ํา ระบบทางเดินอาหาร (Digestives System)
เบื่ออาหาร (Anorexia)
เบื่ออาหารเป็นอาการที่มีความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหารอาจรู้สึกต่อต้านเมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็น อาหาร เกิดจากความไม่สดดุลของการกระตุ้นของศูนย์ความหิว (Feeding center) และศูนย์ความอิ่ม (Satiety center) ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
สาเหตุของอาการเบื่ออาหาร
พยาธิสภาพทางด้านร่างกาย
1.1 ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ที่พบบ่อย คือ มีการอักเสบ หรือมีการติด
เชื้อของส่วนต่าง ๆ ของทางเดินอาหาร
1.2 ความผิดปกติของระบบอื่น ๆ อาการเบื่ออาหารมักเป็นอาการเริ่มแรกของความ เจ็บป่วยหลาย ๆ อย่าง และอาการของโรคติดเชื้อเรื้อรัง
ความผิดปกติด้านอารมณ์และจิตใจ ส่วนใหญ่อารมณ์ที่ส่งผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารได้ มักจะเป็นอารมณ์ในทางลบ เช่น เศร้า เสียใจ วิตกกังวล กลัว
ผลข้างเคียงของการรักษา ผลข้างเคียงของการรักษาที่มีผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารที่พบได้ บ่อยคือ การฉายรังสี การรักษการเจริญของเนื้องอกที่ผิดปกติ
ผลจากการติดยาเสพติด โรคพิษสุราเรื้อรัง ติดบุหรี่เรื้อรัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร
พยายามหาสาเหตุ แล้วขจัดสาเหตุ พิจารณาสาเหตุง่าย ๆ ก่อน
2.ลดความรู้สึกเบื่ออาหารและส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารด้วยวิธีต่างๆด
2.1จัดท่าในการรับประทานอาหารให้สุขสบายใกล้เคียงกับท่าที่เป็นธรรมชาติ
2.2 ความสะอาดของร่างกาย ดูแลร่างกายโดยเฉพาะปากและฟันให้สะอาด
2.3 ลดความเจ็บปวดและความไม่สุขสบายอื่น ๆ เช่นช่วยให้ได้ถ่ายปัสสาวะก่อน รับประทานอาหาร ให้ยาแก้ปวด
2.4 บรรยากาศและสิ่งแวดล้อม จัดให้มีอากาศถ่ายเทที่ดี เปิดพัดลม
2.5ให้รับประทานอาหารตามสภาพอาหารที่ควรเป็นค
การดูแลด้านจิตใจ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่ง พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหาร เป็นช่วงที่จิตใจสบาย บรรยากาศที่ผ่อนคลาย
การดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้เพียงพอ สังเกต สอบถามและบันทึกปริมาณอาหาร
4.1 การให้รับประทานอาหารทางปาก พยายามรับประทานด้วยวิธีปกติ คือทางปากให้ มากที่สุด
4.2 การให้อาหารโดยวิธีพิเศษ เมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยอย่างต่อเนื่อง ควรแจ้ง ให้แพทย์และทีมการรักษาทราบ
คลื่นไส้ (nausea) เป็นความรู้สึกไม่สุขสบายในท้อง ที่ต้องการเอาสิ่งที่ค้างในกระเพาะอาหารออกมา มักเป็นอาการนํามาก่อนอาการอาเจียนแต่อาจมอีาการคลื่นไส้โดยทีไ่ม่มีอาการอาเจียนตามาก็ได้
อาเจียน (vomiting, emesis) เป็นอาการที่มีแรงดันจากภายในร่างกาย มีการบีบตัวของกระเพาะอาหาร กล้ามเนื้อหน้าอก เพื่อนําสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหารออกมาทางปาก
สาเหตุของอาการคลื่นไส้ อาเจียน
สาเหตุของอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ แพ้อาหาร มอี าการตอบสนองต่อกลิ่น ที่ไม่ชอบ การติดเชื้อ การอักเสบผิดปกติในกระเพาะอาหารและลําไส้ กรดไหลย้อนเป็นต้น
ผลของอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย
สูญเสียน้ํา อิเล็กโทรไลต์และพลังงานสารอาหาร
3.การสูดสําลักของเหลวและอาหารที่อาเจยีนเข้าสู่หลอดลม
อาการแสบท้องหรือแสบบริเวณยอดอก
ปัญหาทางจิตใจ อาการคลื่นไส้ อาเจียนที่เกิดขึ้น
1.การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ํา
1.การป้อนอาหาร
2.การใส่สายจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร Nasogastric tube / NG tube
การดูแลผู้ป่วยที่คาสายจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร Nasogastric tube / NG tube
หลังใส่ทันที
ระหว่างที่ผู้ป่วยมีสายคาอยู่
จัดท่าผู้ป่วยให้สุขสบาย
-รอยต่อต่างๆของสายว่าแน่นเรรยบร้อยดี
รูจมูกหรือปากไม่ถูกดึงรั้งจากพลาสเตอร์
สายอยู่ตําแหน่งที่ไม่ดึงรั้งและสุขสบาย
บันทึกเวลาที่ใส่สาย ปฏิกิริยาของผู้ป่วย รวมทั้งรายละเอียดอื่น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
ปัญหาที่พบบ่อยเกี่ยวกบัการขับถ่ายอุจจาระและแนวทางช่วยเหลือท้องผูก(Constipation)
ท้องผูกหมายถึงอาการที่อุจจาระห่างครั้งกว่าปกติน้อยกว่า3ครั้งต่อสัปดาห์หรือมีอุจจาระแห้งแข็งขนาดเล็กขับถ่ายได้ยากลําบาก ปวดท้องไม่ถ่าย
ท้องเดิน (Diarrhea)
การถ่ายอุจจาระเป็นเลือด (Melena)
ผลของอาการท้องผูก
แน่นท้องปวดท้องท้องอืดไม่สุขสบาย
2.เบื่ออาหารคลื่นไส้ปวดศรีษะวิงเวียนเนื่องจากแรงดันในลําไส้ใหญ่เพิ่มข้ึน
3.ปากแตกลิน้แตกลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
4.ริดสีดวงทวาร(Hemorrhoid)
5.ภาวะยูรีเมยีในกลุ่มผู้ป่วยโรคตับ
สาเหตุ
1.อาหารและน้ําดื่มไม่เพียงพอ
การเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ขาดการออกกําลังกาย
วิถีชีวิตที่เร่งรีบ การไม่ได้ฝึกถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา
อารมณ์ซึมเศร้าท้อถอยวิตกกังวลม
5.พยาธิสภาพหรอืความผิดปกติของร่างกาย
อาการและอาการแสดงที่ผิดปกติของผู้ป่วยระบบทางเดินปัสสาวะ
ลักษณะของปัสสาวะผิดปกติ (Abnormal characteristics of urine)
ปัสสาวะลําบาก(Dysuria)
ถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งหรือถ่ายปัสสาวะกระปริบกรปรอย(Pollakiuria)
ถ่ายปัสสาวะไม่ออก (Urinary retention)
กลั้นปัสสาวะไม่ได้(Urinaryincontinence)
5.จํานวนปัสสาวะผดิปกติ
ปัสสาวะเวลากลางคืน (Nocturia)
ปัสสาวะค้าง (Residual urine)
1 more item...