Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลตามพฤติกรรมที่ผิดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลตามพฤติกรรมที่ผิดปกติ
Manipulate
การพยาบาล
ประเมินพฤติกรรมและค้นหาปัญหาที่แท้จริง
สร้างสัมพันธภาพแบบ 1:1
ต้องให้การยอมรับกับพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก และควรตระหนักว่าสิ่งที่ผู้ป่วยแสดงออกมานั้นมีความหมาย
อดทนหนักแน่น หลีกเลี่ยงการขอสิทธิพิเศษ การต่อรอง การโต้แย่ง และการวิพากษ์วิจารณ์ของผู้ป่วย
จัดกลุ่มกิจกรรม และเสริมสร้างการฝึกนิสัยการควบคุมตนเองให้ปฏิบัติตามกฎกติกา การเคารพสิทธิของตนเองและผู้อื่น
ให้คำชมเชยเมื่อผู้ป่วยสามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้เหมาะสม
กลไกการเกิดพฤติกรรม
บุคคลจะถูกเลี้ยงดูในลักษณะของการถูกควบคุมให้อยู่ในอำนาจ หรืออาจจะถูกพ่อตามใจจนไม่รู้จักขอบเขตของการยับยั้งความต้องการ เด็กจะเติบโตขึ้นมาด้วยพฤติกรรมที่บงการทั้งโดยทางอ้อมหรือทางตรง เช่น ในวัยเด็กเมื่อต้องการสิ่งใดก็จะต้องเอาให้ได้ ถ้าไม่ได้เด็กจะหาวิธีและเรียนรู้หนทางที่จะให้บุคคลอื่นทำตามที่ตนเองต้องการ โดยไม่คำนึงถึงว่าสิ่งที่ตนเองต้องการนั้น ขัคความต้องการหรือความรู้สึกของคนอื่นหรือไม่
อาการและอาการแสดง
ต่อต้าน ละเลย กฎ และระเบียบ
ต้องการอภิสิทธิ์เหนือคนอื่น
ต้องการเรียกร้องความสนใจจากบุคคลรอบข้าง
ยุแหย่ให้เข้าใจผิด
อันธพาลใช้อำนาจในการบีบบังคับให้บุบคลอื่นทำตามความต้องการของตนเอง
Depression
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาท ได้แก่ serotonin และ dopamine
เกิดจากการได้รับการกระทบกระเทือนทางจิตใจอย่างรุนเเรง
เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
เกิดจากการเผชิญปัญหาที่ไม่มีใครช่วยเหลือได้
ระดับความเศร้า
ภาวะเศร้าระดับต่ำ (Mid depression)
ภาวะเศร้าระดับปานกลาง (Moderate depression)
ภาวะเศร้าระดับรุนแรง (Severe depression)
กลไกการเกิดพฤติกรรม
เกิดทันทีทันใด หรือสะสม มาจากประสบการณ์ มีผิดหวังซ้ำๆ จนบุดคลรู้สึกกลัวต่อการผิดหวัง และใช้การเผชิญปัญหา แบบโทษตนเอง เก็บกด ทำให้สิ้นหวังและสลดหดหู่
การพยาบาล
วิเคราะห์ปัญหาของผู้ป่วยที่สำคัญก็คือ การฆ่าตัวตาย จะต้องสังเกตพฤติกรรมที่มีแนวโน้มจะฆ่าตัวตายโดยสังเกตการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมและอารมณ์
2 ลดภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยซึมเศร้ามีความสัมพันธ์กับการคิดฆ่าตัวตาย การป้องกันในขั้นแรกด้วยการเก็บสิ่งของที่อาจใช้เป็นอาวุธในการทำร้ายตัวเอง สังเกตพฤติกรรมอย่างใกล้ชิดและ ต่อเนื่อง ไวต่อการเปลี่ยนแปลพฤกรรมของผู้ป่วย โดยเฉพาะเมื่อผู้ป่วยแสดงอาการซึมเศร้ารุนแรง ไม่พูดคุย พยายามทำร้าตัวเอง หรือมีแสดงอาการดีขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อที่จะได้ให้การคูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้องและทันท่วงที
3 การดูแลสุขภาพอนามัย
กาสร้างสัมพันธภาพ เพื่อให้เกิดวามรู้สึกมีคุณค่า มีกำลังใจที่จะคำเนินชีวิตต่อไปนั้น ทำได้ด้วยการให้โอกาสผู้ป่วยได้พูดระบาย
สังเกตุผลจากการรักษา เช่น ยา หรือการบำบัดด้วยกระแสไฟฟ้า ทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมถึงการบันทึกน้ำหนักตัว เพื่อการติดตามผลต่อไป
การจัดกิจกรรม และสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่หมาะสำหรับผู้ป่วยก็คือ กรออกกำลังกาย เช่นเดิน วิ่งหรือเล่นกีหา เพราะจะช่วยลดความตึงเครียด ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และจิตใจก็จะสดชื่นขึ้นด้วย
ลดความรู้สึกผิด และเสริมความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า และมีประโยชน์ โดยการให้ผู้ป่วยร่วมกิจกรรมใการได้ดูแลตนเอง และมีงานอดิเรกทำ จะช่วยให้เกิดความหวังและรู้ลึกมีคุณค่าและยิ่งกิจกรรมที่ทำนั้นแสดงผลสำเร็งก็จะทำให้มีกำลังใจที่จะต่อสู้ต่อไป
การเตรียมผู้ป่วยกลับสู่ชุมชน เมื่อผู้ป่วยอการดีขึ้น จะต้องช่วยให้ได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นพิจารณาตัดสินได้ด้วยตนเอง มีการพบปะพูดคุยกับครอบครัวเพื่อวางแผนร่วมกัน
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
อารมณ์เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นคนเศร้าสร้อย หดหู่ สะเทือนใจง่าย ร้องไห้บ่อย
ความคิดเปลี่ยนไป มองอะไรก็รู้สึกว่าแย่ไปหมด มองชีวิตที่ผ่านมาในอดีตก็เห็นแต่ความผิดพลาดความล้มเหลวของตนเองมองอนาคตไม่เห็น รู้สึกท้อแท้
สมาธิความจำแย่ลง จะหลงลืมง่าย โดยเฉพาะกับเรื่องใหม่ๆ วางของไว้ที่ไหนก็นึกไม่ออก ทำอะไรไม่ได้นานเนื่องจากไม่มีสมาธิ
มีอาการทางร่างกายต่างๆ ร่วม รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง เบื่ออาหาร น้ำหนักลดลง นอนไม่หลับหรือนอนหลับมากกว่าปกติ
ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างเปลี่ยนไป จะเก็บตัวมากขึ้น ไม่ค่อยพูดจากับใคร
การงานแย่ลง ความรับผิดชอบต่อการงานก็ลดลง หรือทำลวกๆ เพียงให้ผ่านๆ ไป
อาการโรคจิต จะพบในรายที่เป็นรุนแรง ได้แก่ อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนร่วมด้วย จะเชื่อว่ามีคนคอยกลั่นแกล้ง หรือประสงค์ร้ายต่อตนเอง อาจมีหูแว่วเสียงคนมาพูดคุยด้วย มักจะเป็นเพียงชั่วคราวเท่านั้น เมื่อได้รับการรักษา อารมณ์เศร้าดีขึ้น อาการโรคจิตก็มักทุเลาตาม