Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม, 4.4 การเล่าเรื่องราวจากข้อมูล, 4.5…
4.3 การทำข้อมูลให้เป็นภาพอย่างเหมาะสม
4.3.1 การสร้างความโดดเด่น
เน้นข้อความที่ต้องการจะสื่อ
เช่น การขีดเส้นใต้ การใช้สีในการเน้น
เพื่อให้เห็นสารที่จะสื่อชัดเจน
คืออะไร
กำหนดตัวแปรในการมองเห็นไว้ 7 ตัวแบ่ง
ขนาด
รูปร่าง
ตำแหน่ง
ความเข้ม
สี
ทิศทาง
สวดลาย
ใช้หลักการและการมองเห็นและการรับรู้ของ JACQUES BERTIN
4.3.2 การจัดกลุ่ม (associative)
เพื่อแสดงการแบ่งกลุ่มของข้อมูล
4.3.3 การบ่งปริมาณ (quantitative)
เพื่อให้ผู้รับสารสนใจ และ รับรู้ได้รวดเร็ว
เช่น ความยาว ความกว้ง หรือขนาดของเส้นกราฟ
จะต้องสะท้อนให้เห็นถึงปริมาณของข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
4.3.4 การจัดลำดับข้อมูล(Order)
เพื่อให้ผู้รับสารสามรถตีความ และ เข้าใจภาพที่นำเสนอได้
นักนิยมใช้การเรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย
เช่น การจัดกลุ่มของอายุ
4.4 การเล่าเรื่องราวจากข้อมูล
4.4.2 แบบ ร้านกาแฟ
มีระยะเวลาในการคุยนาน
มีเรื่องราวเล่าระหว่างกัน
เปรียบเสมือนการคุยกันในร้านกาแฟ
ดำเนินการสนทนาของเนื้อหาดังกล่าวให้อยู่ในการสนใจของผู้ฟัง
4.4.1 แบบตู้กดน้ำ
เปรียบเสมือนการพูดคุยในขณะกดน้ำ
มีระยะเวลาในการสนทนาสั้น
การสรุปเนื้อหาในปริมาณมากให้เหลือใจความสำคัญ
เช่น การทำตัวอย่างเป็นแผนภาพ กราฟ แผนภูมิ
4.4.3แบบห้องสมุด
่มีหนังสือ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้องเยอะ
เป็นการศึกษาเชิงลึกในเรื่องของตัวเอง
เปรียบเสมือนการศึกษาในห้องสมุด
นำเสนอให้ผู้อ่านอยากศึกษาต่อหรือหาข้อมูลต่อและเข้าใจมากขึ้น
4.4.4แบบห้องทดลอง
เหมือนได้รับประสบการณ์ในการทำงาน
ทำให้ผู้อ่านมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เขียน
เปรียบเสมือนการทำการทดลอง
มีการถ่ายทอดประสบการณ์ให้ผู้อื่นด้วย
4.5 ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล
3.จะต้องระวังไม่ให้ตัวแปรที่ใช้แสดงผลด้านอื่นโดนเด่นขึ้นมา เพราะจะทำให้ผู้รับข้อมูลตีความไม่ตรงกัน
เช่น การใช้ตัวแปรในการวาดหรือเขียนกราฟ
ข้อมูลที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการนำเสนอไม่ควรเป็นข้อความที่ยาวๆ เพราะจะทำให้ไม่น่าสนใจ
4.รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
2.สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ หลีกเลี่ยงการใช้สีพื้นอ่อนคู่กับตัวหนังสือสีอ่อนเพราะจะทำให้อ่านยาก หรือสีที่สดเกินไปจะทำให้อ่านไม่นาน ผู้อ่านจะเกิดอาการปวดตามากกว่าเกิดความน่าสนใจ