Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6 บทบาทของพยาบาลในการดูแลช่วยเหลือบุคคลที่มีบาดแผล
การดูแลบาดแผล
บาดแผล หมายถึง เน้ือเยื่อของร่างกายได้รับบาดเจ็บ อาจมีสาเหตุจากถูกของมีคม ถูก กระแทก ถูกความร้อนจัดหรือเย็นจัด ถูกสารเคมี รังสี ซึ่งอาจเกิดจากอุบัติเหตุ หรือเป็นบาดแผลจาก การผ่าตัดก็ได้ม
แบ่งตามความสะอาดของแผล
1.1 แผลสะอาด (clean wound) หมายถึง แผลที่ไม่มีการตดิ เชื่อหรือ เป็นแผลที่เคย ปนเปื้อนเชื้อ แต่ได้รับการดูแลจนแผลสะอาดไม่มีการติดเชื้อ เน้ือเยื่อของแผลเป็นสีชมพูอมแดงและ มักเป็นแผลปิด (closed wound)
1.2 แผลกึ่งสะอาดกึ่งปนเปื้อน (clean-contaminated wound) ลักษณะของแผล คล้ายแผล สะอาดแตม่ักเป็นแผลผ่าตัดในระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินอาหาร
1.3 แผลปนเปื้อน (contaminated wound) เป็นแผลที่ไม่สะอาด
1.4 แผลติดเชื้อหรือแผลสกปรก (infected wound/ dirty wound) เป็นแผลที่มี การปนเปื้อนเชื้อ จนเกิดการตดิเช้ือเกิดการอักเสบมหีนอง
แบ่งตามลักษณะการทาลายของผิวหนัง
2.1 แผลปิด (closed wound) หมายถึง บาดแผลที่ผิวหนังหรือเยื่อบุไม่ฉีกขาดออกจากกัน แต่ เนือ้เยื่อที่อยู่ใต้ผิวหนังได้รับบาดเจ็บ
1)แผลฟกช้ำ(contusion/bruise)เป็นการฉีกขาดของกล้ามเนื้อใต้ผวิหนัง พบรอยฟกช้าเส้นเลือดแตก
2) แผลกระทบกระเทือน (concussion) มักใช้เกี่ยวกับการกระทบกระเทือนประสาท
3) แผลแตก (rupture) เป็นการแตก ฉีกขาดของอวัยวะภายในร่างกาย
4) แผลผ่าตัด(surgical incision)ขอบแผลเรียบ กล้ามเนือ้ และผวิ หนังถูกเย็บปิด
2.2 แผลเปิด (opened wound) หมายถึง แผลทีมีการฉีกขาดหรือท้าลายผิวหนังให้ แยกออกจากกัน
1)แผลถลอก(abrasionwound)เ
2) แผลฉีกขาด (laceration wound)
3) แผลตัด (incision wound/ cut wound)
4) แผลทะลุ (penetration wound)
แบ่งตามสาเหตุของการเกิดบาดแผล
3.1แผลเกิดโดยเจตนา(intentionwound)เป็นแผลที่กระทำขึ้นเพื่อการรักษาเช่น แผลผ่าตัด แผลที่เกิดจากการเจาะ เป็นต้น
3.2แผลเกิดโดยไม่เจตนา(unintentionalwound)เป็นแผลที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ
ตามระยะเวลาทีาเกิดแผล
4.1แผลสด
4.2 แผลเก่า
4.3แผลเรื้อรัง
แผลประเภทอื่นๆ
การแบ่งชนิดของบาดแผลประเภทอื่น ๆ ได้แก่ แผลที่มีรูทะลุ (fistula) และแผลไหมพ้อง(burn)
การอักเสบ (Inflammation)
การอักเสบ เป็นปฏิกิริยาการตอบสนองที่ซับซ้อนของเซลล์หรือเน้ือเยื่อต่อสิ่งที่ก่อให้เกิด ภยันตราย และต่อเซลล์หรือเน้ือเยื่อที่เสียหายหรือตายลงทันที ปฏิกิริยาที่สาคัญของการอักเสบ คือ การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด การเคลื่อนตัวของเซลล์เม็ดเลือดขาวออกจากหลอดเลือดเข้าสู่ เนือ้เยื่อ
การหายของแผล มี 3 ลักษณะ
คือ
การหายแบบปฐมภูมิ (primary intention/ first intention healing) เป็นการหายของแผลโดยมี การเจรญิ เติบโตของเยื่อบุผวิ หนังอย่างรวดเร็ว
การหายแบบทุติยภูมิ (secondary intention/ secondary intention healing) เป็นการหายของ แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเคมี
การหายแบบตติยภูมิ (third intention / third intention healing) เป็นการหายของแผลที่มีการ ติดเชื้อเกิดขึ้น การหายของแผลจะเกิดขึ้นภายหลังจากที่ขจัดการติดเชื้อหมดไป
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
1.อายุ วัยสูงอายุจะมีการซ่อมแซมแผลได้ช้ากว่าวัยอื่น ๆ
ภาวะโภชนาการ
สภาวะของโรค
ยา ยาบางชนิดทาให้แผลหายช้า
บุหรี่ ผลของบุหรี่ทำให้การทำงานของระบบหายใจเปลี่ยนไป
ความเครียด
ความอ้วน
ระบบการไหลเวียนเลือด
1 more item...
การดูแลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
การพักผ่อนร่างกาย
การทำความสะอาดบาดแผล
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตมายังบาดแผล
3.1ดูแลไม่ให้ผ้าพันแผลรัดแนน่เกินไป
3.2ประคบด้วยความรอ้นหรอืความเย็นแล้วแต่ลักษณะ
การยกบริเวณที่มีบาดแผลไว้สูง
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
การลดความเจ็บปวดจากแผล
การส่งเสริมสุขวิทยาส่วนบุคคลและดูแลให้ผู้ป่วยรู้สกึ สุขสบาย
การทำแผล
หลักการทำแผล
วัตถุประสงค์ของการทำแผล
การทำแผลชนิดแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลชนิดเปียก (Wet dressing)
การทำแผลทีมีท่อระบาย ท่อระบาย (Drain)
การทำแผลที่ต้องใช้แรงกด (Pressure dressing)
การชะล้างแผล (Wound irrigation)
การตัดไหมการตัดไหม(Stitchoff)
การทำแผล (Dressing Wound)
น้ำยาที่ใช้สำหรับทำแผล
การประเมนิสภาพแผล
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
การทำแผล
การใช้ผ้าพันแผล
การพันรอบหรือพันเป็นวงกลม (Circular turns)
การพันเป็นเกลียว (Spiral turns)
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม (Triangular bandages)
การคล้องแขน (Arm sling)
การพันศรีษะ
การพันมือ