Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยเพื่อรับการตรวจต่างๆแ…
บทที่ 7 บทบาทความรับผิดชอบของพยาบาลในการเตรียมผู้ป่วยเพื่อรับการตรวจต่างๆและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ
1. การเก็บสิ่งส่งตรวจ
1) การเก็บเลือด
-การเก็บเลือดเพาะเชื้อ
1) ทำความสะอาดตำแหน่งที่เจาะ โดยใช้ 2%Chlorhexidine gluconate in 70% alcohol เช็ดก่อน ปล่อยให้แห้งก่อนเจาะ
2) ระวังการปนเปื้อน หลังเจาะเสร็จปลดหัวเข็มที่เจาะทิ้ง เปลี่ยนหัวเข็มใหม่ ก่อนแทงลงขวดที่ใช้เก็บ เช็ด 2%Chlorhexidine gluconate in 70% alcohol บริเวณจุกยางก่อนแทงเข็ม
-การเก็บเลือดจาก capillary puncture
1) เลือกตำแหน่งที่เจาะ นวดปลายนิ้วกลางหรือนิ้วนาง
2) เช็ดสำลีแอลกอฮอล์ปลายนิ้วเช็ดวนออก รอให้แห้ง
3) แทง Lancet ให้ลึกประมาณ 2 mm.
4) ใช้สำลีแห้งเช็ดเลือดที่ออกทิ้งก่อน
5) ใช้หลอด Micro hematocrit tube ด้านที่มีรอยขีดแดง รองรับเลือด (ประมาณ 3/4 ของหลอดแก้ว) 2 หลอด
6) นำหลอดแก้วกดในแท่งดินน้ำมันปิดปลายหลอดแก้ว
7) ให้สำลีแห้งกดตำแหน่งที่ เจาะเลือด และปิดพลาสเตอร์
-การเก็บเลือดจากหลอดเลือดดำ(Venipuncture/ phlebotomy)
2) ให้ผู้ป่วยเหยียดแขนให้ตรง ท่านั่งให้ใช้หมอนรองใต้ข้อศอกให้ตึง
3) เลือกตำแหน่งที่จะแทงเข็ม และใช ้Tourniquet รัดเหนือตำแหน่งที่เจาะประมาณ 2-3 นิ้วไม่รัดเกิน 1 นาที
4) เช็ด Alcohol 70% วนออกมาโดยรอบกว้างประมาณ 3 นิ้วรอให้แห้ง
5) วางหัวแม่มือบนหลอดเลือดตำแหน่งที่ต่ำกว่าที่ต้องการเจาะ 1-2 นิ้ว โดยหลดเลือดให้อยู่กับที่
6) แทงเข็มทำมุม 15-45 องศากับผิวหนัง สอดเข็มลึก ½ นิว
7) เมื่อมีเลือดไหลเข้าในกระบอกฉีดยา ดูดเลือดช้าๆ แล้วปลดสายTourniquet ออก
9) สวมหัวเข็มกลับโดยใช้มือเดียว (One hand technique)
8) เอาสำลีแห้งวางตรงที่แทงเข็มเบาๆ พร้อมถอนเข็มออก กดให้เลือดหยุด ถ้าเป็นตำแหน่งข้อพับ ให้ผู้ป่วยพับข้อศอก 2-3 นาที และใช้พลาสเตอร์ปิดทับ
10) ปลดหัวเข็มทิ้งในภาชนะทิ้งหัวเข็ม แตะปลายกระบอกฉีดยากบด้านในของหลอดบรรจุและดันตัวอย่างเลือดเข้าในหลอดแก้วบรรจุเลือดช้าๆ
11) ปิดจุกหลอด ถ้าในหลอดมีสารป้องกันการแข็งตัวของเลือดให้ผสมเลือดกับสาร โดยกลับหลอดไปมา 5-10 ครง
1) ต่อหัวเข็มเข้ากับกระบอกฉีดยา ไล่อากาศออกที่เจาะ ประมาณ 2-3 นิ้ว ไม่รัดเกิน 1 นาที
2) การเก็บเสมหะ
เก็บตอนตื่นนอนเช้าก่อนรับประทานอาหาร และดื่มน้ำบ้วนปากด้วยน้ำเกลือ/น้ำสะอาด
ให้ผู้ป่วยสูดลมหายใจเข้าออกทางจมูกยาวๆ 2-3 ครั้งแล้วหายใจเข้ายาวๆแล้วกลั้นไว้ ไอออกมาอย่างลึกและแรง เมื่อมีเสมหะให้บ้วนใส่ภาชนะที่บรรจุเสมหะ
กรณีผู้ป่วยใส่ท่อหลอดลมคอ ใช้สายดูดเสมหะ เมื่อเสมหะเข้าไปในภาชนะแล้วปลดฝาที่มีสายดูดออก แล้วนำฝาที่ปิดก้นขวดมาปิดฝาแทน ปิดฝาให้สนิท
3) การเก็บหนอง
1) ทาความสะอาดแผลด้วยน้ำเกลือ
0.9 % NaCl
2) ใช้ไม้ป้ายสำลีที่มีหนอง / สงสัยว่ามีการติดเชื้อหมุนไม้ พันสำลีเบาให้ติด discharge
3) ป้ายลงบนแผ่น slide / ใส่ลงในหลอดแก้วที่มีอาหารเลี้ยงเชื้อ และ ปิดฝาให้มิดชิด
4) การเก็บน้ำไขสันหลัง
5) การเก็บอุจจาระ
1) ให้ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระในหม้อนอนที่แห้งและสะอาด
2) ใช้ไม้/กระดาษที่เตรียมไว้ตักอุจจาระใส่ภาชนะและปิดฝาให้มิดชิด
3) กรณีตรวจหาเลือดแฝง ให้ผู้ป่วยงดอาหารประเภทเนื้อสัตว์ก่อนเก็บอุจจาระเป็นเวลา 3 วัน
6) การเก็บปัสสาวะ
2. การจัดท่าเตรียมตรวจและส่งตรวจพิเศษต่างๆ
1) การส่องกล้องเข้าไปดูอวัยวะภายใน
การส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนบน (Gastrointestinal Endoscopy)
• เป็นการตรวจโดยใช้กล้องไฟเบอร์ออฟติก ที่ปรับโค้งงอสอดเข้าไปทางปาก เพื่อตรวจลักษณะโครงสร้างอวัยวะระบบทางเดินอาหารส่วนบน ได้แก่ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก
การส่องกล้องตรวจทางเดินอาหารส่วนล่าง (Colonoscopy)
• เป็นการตรวจโดยใช้กล้องไฟเบอร์ออฟติก ที่ปรับโค้งงอสอดเข้าไปทางทวารหนัก ลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย
2) การตรวจที่เกี่ยวกับการเจาะหรือตัดชิ้นเนื้อ
-เจาะหลัง
•การเจาะหลัง หมายถึง การแทงเข็ม เจาะ
หลังผ่านช่องว่างระหว่างกระดูกสันหลังช่วงเอว (Lumbar vertebrae) L3 กับ L4 หรือ L4 กับ L5 ผ่านเข้าถึงชั้นSubarachnoid space และดูดเอาน้ำไขสันหลัง (Cerebrospinalfluid, CSF) ออกมาเพื่อตรวจวินิจัยหรือเพื่อเป็นช่องทางให้การรักษา
-เจาะไขกระดูก
•เป็นการตรวจเซลล์และระบบเลือดของไข
กระดูก เป็นข้อมูลการวินิจััยที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับความผิดปกติของเลือดไขกระดูกวิธีการใช้เข็มเจาะตัดเนื้อเยื่อ (needle
biopsy)อาจจะเอาออกมาด้วยการดูดหรือใช้
-เจาะท้อง
•เป็นการเจาะเพื่อดูดของเหลว (Ascitic fluid) ออกจากช่องท้อง
-เจาะปอด
•การเจาะปอด หมายถึง การแทงเข็มเข้าไปใน
ช่องเยื่อหุ้มปอด เพื่อดูดของเหลวหรืออากาศออก
3) การตรวจทางรังสี และสารทึบแสง
• เป็นการนำคลื่นเสียงที่มีความถี่สูงโดยอาศัยทรานซดิวเซอร์ (transducer) เป็นเครื่องมือปล่อยและรับคลื่นเสียง
• คลื่นเสียงจะผ่านไปตามเนื้อเยื่อต่างๆที่ต้องการตรวจ แล้วสะท้อนกลับมายังเครื่องมือให้เห็นเป็นภาพเพื่อนำไปแปลผลอีกครั้งหนึ่ง
•การอุลตราซาวด์จะใช้ในการวินิจัยมากกว่า
การรักษา นิยมใช้ในทางสูติกรรมเนื่องจากไม่มีอันตรายต่อเด็กในครรภ์
4) การตรวจโดยใช้คลื่นไฟฟ้าหัวใจ EKG
•เพื่อดูการเต้นของหัวใจ การตรวจชนิดนี้
ผู้ป่วยจะไม่เจ็บปวด ใช้เวลาตรวจประมาณ10 นาที
•หลักการคือ จะมีแผ่นโลหะซึ่งเป็น
อิเล็กโตรดต่อมาจากเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ แล้วต่อกับร่างกายผู้ป่วยโดย 4 จุดแรก ต่อกับแขนขาทั้ง 2 ข้างและอีก 6 จุดอยู่ที่หน้าอกผู้ป่วย
5) การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG
• เป็นการตรวจเพื่อดูความผิดปกติของเนื้อสมองใน
ผู้ป่วยมีประวัติชักมาก่อน และติดตามผลของการรักษาและช่วยแยกชนิดของโรคลมชัก