Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาต่างประเทศ กับการพัฒนาวิชาชีพครู - Coggle Diagram
ภาษาต่างประเทศ กับการพัฒนาวิชาชีพครู
การพัฒนาวิชาชีพครู สู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
กรอบสมรรถนะวิชาชีพครู ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสําหรับการเรียนการสอน
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน
การพัฒนาทักษะการจัดลําดับความคิดในระดับสูง
การพัฒนาด้านวิชาชีพ
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน
การอํานวยความสะดวกในการเรียนรู้
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม
สมรรถนะของครูผู้สอนในศตวรรษที่ 21 ที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด
สมรรถนะหลัก (Core Competency)
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน
การบริการที่ดี
การพัฒนาตนเอง
การทํางานเป็นทีม
จริยธรรมและจรรยาบรรณครู
สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (Functional Competency)
Content
Constructionist
Computer (ICT) Integration
Caring
Communication
Connectivity
Creativity
สมรรถนะตามสายปฏิบัติงาน (Functional Competency)
การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ภาวะผู้นํา
การสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชน
ความสําคัญของภาษาต่างประเทศ กับการพัฒนาวิชาชีพครู
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกการสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
รวมตัวพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
การจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล และการจัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล
ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนที่มีการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนและการบริหารจัดการด้วย ระบบคุณภาพที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มี ศักยภาพเป็นพลโลก มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การดําเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
การดําเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เพื่อยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานของประเทศชั้นนําที่มีคุณภาพการศึกษาสูง
เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก โดยเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการสื่อหราสองภาษา ล้ําหน้าทางความคิด ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหาร ด้วยระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA)
ระดับที่ 1 การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับโรงเรียน (School Quality Award: SCQA)
ระดับที่ 2 การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (Office of the Basic Education Commission Quality Award: OBECQA)
ระดับที่ 3 การบริหารจัดการระบบคุณภาพระดับชาติ (Thailand Quality Award: TQA)
โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School)
เกิดจากการระดมสมองร่วมคิด ร่วมหารือ จึงสามารถวางแผนงานได้ว่า โรงเรียน มาตรฐานสากลจะต้องมีหลักสูตรเด่นที่ เน้นมาตรฐาน ซึ่งหลักสูตรนั้นจะต้อง ประกอบด้วย 8 สาระการเรียนรู้ ผนวกกับ ความเป็นสากลที่ประกอบด้วย ทฤษฎีองค์ ความรู้ชักนําเด็กสู่การคิดโครงงานและ สามารถเสนอผลงานได้อย่างชัดเจน
ความสําเร็จของการดําเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล
เป้าหมายความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียนเป้าหมายและตัวชี้วัด ความสําเร็จในการดําเนินงานด้านผู้เรียนของดรงเรียนมาตรฐานสากล มี 5 เป้าหมาย แต่ละเป้าหมายจะมีตัวชี้วัดความสําเร็จที่แตกต่างกันไป ในแต่ละปีการศึกษาโรงเรียน