Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Electroconvulsive Therapy) การรักษาผู้ป่วยจิตเวชด้วยไฟฟ้า - Coggle Diagram
(Electroconvulsive Therapy) การรักษาผู้ป่วยจิตเวชด้วยไฟฟ้า
ชนิดการทำ ECT
แบ่งตามการวางอิเลคโทรด
Bilaterl เป็นการทำ ECT ที่วางอิเลคโทรดบริเวณ temporal area ของศีรษะ ทั้งสองข้าง
2.Unilateral nondominant เป้นการทำ ECT ที่ วางอิเลคโทรดทั้ง 2 บนศีรษะข้าง
เดียวกัน
แบ่งตามลักษณะคลื่นไฟฟ้า
Sine wave เป็นการทำ ECT ที่ใช้ เครื่องรุ่นเก่า ซึ่งจะให้กระแส ออกมา เป็นsine wave ที่จะไปกระตุ้น ให้ผู้ป่วยชัก
Brief pulse wave เป้นกำรท่ ECT ใช้ เครื่องรุ่นใหม่ ซึ่งจะให้กระแสไฟ ทีเป้นช่วง สันๆ ไม่ต่อเนื่อง มีข้อดีกว่าแบบแรก คือ ใช้กระเเสไฟน้อยกว่า สูญเสียความทรงจำน้อยกว่า
แบ่งตามการใช้ยาสลบ
Modified ECT เป็นการทำ ECT โดยใช้ยานำสลบ นิยมใช้ในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมในการดมยาสลบ ทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และบุคคลากรทางการแพทย์
1.Unmodified ECT เป็นการทำ ECT โดยไม่ใช้ยาสลบึ่งจะใช้มากในโรงพยาบาลจิตเวชที่มีผู้ป่วยมาก แต่บุคคลกรทางการแพทย์มีน้อย
ข้อห้ามและข้อควรระวัง
เนื้องอกในสมอง
โรคเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่นโรคกกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน
การติดเชื้อในกระเเสโลหิตเฉียบพลัน
ภาวะกระดูกบางหรือกระดูกพรุนรุนแรง
โรความดันโลหิตสูง
โรคปอด
ผู้ป่วยสูงอายุ
ข้อบ่งชี้
Schizophrenia โดยเฉพาะ catatonic type การรักษาด้วย ECT จะทำให้อาการดีขึ้นอย่างรวดเร็วส่วน chronic schizophrenia การรักษาด้วย ECT อย่างเดียวไม่ได้ผล ควรให้ ยารักษาโรคจิตร่วมไปด้วยเสมอ
Affective disorders
Manic episode
Depressive episode
Schizoaffective disoder เมื่อรักษาด้วย ECT ผู้ป่วยจะมี ความกังวลลดลง ถึงแม้ จะยังคง sensitive ต่อโลกภายนอกอยู่
Obsessive compulsive disorder ECT
2.ให้การรักษาด้วยวิธีต่างๆ แล้วอาการไม่ดีขึ้น
อาการของคนไข้รุนแรง จนรบกวนผู้ป่วยมาก อย่ะหว่าง รอให้ผลการรักษา ด้วยวิธีอื่นเช่น behavior therapy
เป็นการ ทำให้ชักโดยใช้กระแสไฟฟ้าในปริมาณที่เหมาะสม ผ่านเข้าไปในสมอง ทางขั้วตัวนำไฟฟ้าซึ่งวางไว้บริเวณขมับทั้งสองข้างหรือข้างเดียว ปริมาณ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปในสมองผู้ป่วย โดยทั่วไปอยู่ในช่วงระหว่าง 70-150 โวลท์เวลาที่ปล่อยกระแสไฟฟ้า ประมาณ 2-8 วินาที และมีผลให้เกิดการชักประมาณ 25-60 วินาที จึงจะ มีผลต่อการรักษาที่มีประสิทธิภาพ
ระยะของการชักจากการรักษาด้วยไฟฟ้า
3.ระยะกระตุก (clonic stage) 30-60 วินาที
4.ระยะหยุดหายใจ (apnea stage) 1-2 วินาที
2.ระยะเกร็ง (tonic stage) 10-15 วินาที
5.ระยะหลับ (sleep stage) ใช้เวลาประมาณ 5 นาที
1.ระยะหมดสติ (unconscious stage) 1-2 วินาที
6.ระยะงุนงงสับสน (confused stage) 15-30 นาที
การพยาบาล
หลังการทำ ECT
วัดBP ทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกหลังทำ หลังจากนั้นวัดความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมงอีก 2 ครั้ง และทุก 2 ชั่วโมง อีก 2 ครั้ง จนปกติ
ให้ผู้ป่วยนอนพักประมาณ 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง หรือจนกว่าผู้ป่วยจะควบคุมตัวเองได้
ดูแลผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
ไม่ควรชักถามประวัติส่วนตัว
ช่วยทบทวนเกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน และกิจกรรมต่างๆ ของหอผู้ป่วย
ระหว่างทำECT
เตรีมเครื่อง ECT ให้พร้อมและติดอิเลคโทรดที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ทาelectrode jelly บนด้าน ที่ติดกับผิวหนัง ต่อเครื่องวัด EKG , BP , เครื่องวัด oxygen saturation
ให้ผู้ป่วยสุดออกซิเจน 100% 2-3 นาที
ให้ผู้ป่วยนอนบนเตียงเรียบแข็งพอควร ไม่หนุนหมอน ต่อ scalp vein
เพื่อเตรียม ให้ยา
ฉีด pentothal sodium 5 มก./กก. เข้าเส้นเพื่อทำให้คนไข้หลับ ปัจจุบันนิยมใช้ methohexital (Brevital) เพราะมีผลเสีย และผลข้างเคียงน้อยกว่า แต่เวลาฉีดจะเจ็บกว่า ทดสอบการหลับ ด้วยการตรวจ eyelash reflex
ฉีด succinylcholine 0.5-1.5 มก /กก. เข้าเส้น จะเห็น fasciculation ของ กล้ามเนื้ก้วร่างกาย ทดสอบการคลายต้ว ของกล้ามเนื้อเต็มที่ด้วยการตรวจ Babinski's sign หรือดึงคางจะอ้าปากขึ้นได้ง่าย
6.ใช้ anasthetic mask ที่ต่อกับ ambu bag และ ออกซิเจน 100 % ครอบจมูก บีบ ambu bag เพื่อช่วยการหายใจของผู้ป่วย
กดปุ่มที่เครื่อง ECT เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในสมองของผู้ป่วย
ระหว่างนี้ต้องจับผู้ป่วยไว้ด้วย
ผู้ป่วยจะชักซึ่งมีลักษณะเหมือน grand mal seizure ระยะเวลาของการชัก ต้องไม่น้อยกว่า 25 วินาที ระหว่างชัก ต้องให้ ventilation เพิ่มขึ้น และเมื่อหยุดชักแล้ว ก็ต้องช่วยต่อไปจนกว่า ผู้ป่วยจะหายใจได้เอง ซึ่งใช้เวลาประมาณ 5 นาที
9.ดูดเสมหะและ v/s ทุก 15 นาทีจนกว่าผู้ป่วยจะหายใจเองได้
10.เมื่อผู้ป่วยหายใจได้ก็ประเมินภาวะแทรกซ้อน/อุบัติเหตุุที่ได้รับต่อไป
ก่อนทำ
ทำความสะอาดทั่วไป
ผล CXR EKG ภายใน 1 ปี ,ตรวจฟัน,lab Elyte
เซ็นยินยอม
์NPO 6-8 hr.
V/S
ถอดฟันปลอม เครื่องประดับ ปัสสาวะก่อนทำ
ด้านจิตใจ แจ้งข้อมูลให้ผู้ป่วยทราบ เปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึกก่อนทำ ประเมินสภาพอารามณ์ ลักษณะความคิด การพูด ความสามารถในการจำระยะสั้ยและระยะยาว เป็นต้น