Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พิษสุนัขบ้า "Rabies", นางสาวพลอยไพลิน ล้อดงบัง เลขที่ 50…
พิษสุนัขบ้า "Rabies"
-
อุบัติการณ์
-
แถบเอเชียโดยเฉพาะอินเดีย มีคนตายประมาณปีละ 40,000-50,000 คนซึ่งในประเทศไทยก็พบอยู่มากและไม่ลดลงจากสถิติกระทรวงสาธารณะสุขปี 2529 มี 219 คน ปี 2530 มี 139 คน ปี 2531 มี 219 คน
ระยะฟักตัว
มีระยะฟักตัว 7 วันถึงเป็นปี แต่ประมาณร้อยละ 90 จะมีระยะฟักตัว 20-90 วัน ระยะฟักตัวจะสั้น ถ้าถูกกัดรุนแรงหรือถูกัดบริเวณส่วนบนของร่างกาย
การติดต่อ
เชื้อโรคที่อยุ่ในน้ำลายของสัตว์หรือคนที่เป็นโรคจะเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผลที่ถูกสัตว์กัดหรือข่วน บาดแผล หรือรอยถลอกรวมทั้งเยื่อเมือกของตา จมูก ปาก โดยสัตว์ถูกเลียหรือน้ำลายกระเด็นเข้ามา หรือจากการเปลี่ยนกระจกตาที่เอาจากคนที่เสียชีวิตแล้วมาเปลี่ยนให้
(คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, 2557)
พยาธิสภาพของโรค
มีการเปลี่ยนแปลงที่สมองส่วนกลาง ต่อมหมวกไตและไขสันหลัง เกิด นีไกร์บอดี้(Negri bodies) เป็นก้อนขนาด 24-27 ไมโครมิลลิเมตร
-
บริเวณที่มีการทำลายเซลล์ประสาท จะมีการรวมตัวกันของเม็ดเลือดขาว เกิดเป็นเนื้องอกของเซลล์ค้ำจุนในบริเวณที่ได้รับอันตรายจากไวรัส จึงเรียกบริเวณนี้ว่า ''Babes nodes'' และในส่วนอื่นที่โดนทำลาย เช่น ต่อมน้ำลาย ตับอ่อน ต่อมหมวกไต และต่อมน้ำเหลือง ประมาณ 1 ใน 4 ของผู้ป่วยจะเกิด Interstitial myocarditis
(คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, 2557)
อาการ
2.อาการอัมพาตของร่างกาย (Paralytic rabies หรือ dumb) ไล่จากข้างล่างขึ้นข้างบน (Ascending spinal paralytic)
-
การรักษา
ไม่มีการรักษาเฉพาะโรค นอกจากรักษาตามอาการและแบบประคับประคอง ได้แก่ หากผู้ป่วยมีอาการตื่นเต้น กระวนกระวายจะให้อยู่ในห้องเงียบ มืด และให้ยากล่อมประสาท หากมีอาการชักจะให้ยากันชัก (ทวี ศิริวงศ์, 2559)
ให้อาหาร สารน้ำ และอิเล็กโทรลัยท์ ระวังการหายใจให้ออกซิเจน ระยะหลังอาจให้เครื่องช่วยหายใจ ให้ยา ลดความดันในสมอง
-
-
-
-
-