Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่5 การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ำ การขับถ่ายอุจจาระ…
บทที่5 การพยาบาลผู้ที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ำ การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ํา
เบื่ออาหาร (Anorexia)
สาเหตุของอาการเบื่ออาหาร
พยาธิสภาพทางด้านร่างกาย
ความผิดปกติด้านอารมณ์และจิตใจ ส่วนใหญ่อารมณ์ที่ส่งผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารได้ มักจะเป็นอารมณ์ในทางลบ
ผลข้างเคียงของการรักษา ผลข้างเคียงของการรักษาที่มีผลให้เกิดอาการเบื่ออาหารที่พบได้บ่อย
ผลจากการติดยาเสพติด โรคพิษสุราเรื้อรัง ติดบุหรี่เรื้อรัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร
พยายามหาสาเหตุ แล้วขจัดสาเหตุ พิจารณาสาเหตุง่าย ๆ ก่อน
2.ลดความรู้สึกเบื่ออาหารและส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารด้วยวิธีต่างๆ
การดูแลด้านจิตใจ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่ง
การดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้เพียงพอ
การป้อนอาหาร
วตัถปุระสงค์
1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ได้รับอาหารเหมาะสมกับโรค
ช่วยเหลือ และให้กําลังใจผู้ป่วยขณะรับประทานอาหาร
4.เพื่อสอนให้ผู้ป่วยที่ช่วยเหลอืตังเองไม่ได้และผู้ป่วยตาบอดรับประทานอาหารเองได้
คลื่นไส้ (nausea) และอาเจียน (vomiting, emesis)
ผลของอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีการบีบตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง
สูญเสียน้ํา อิเล็กโทรไลต์และพลังงานสารอาหาร เกิดจากการเสียน้ําจากอาหาร
3.การสูดสําลักของเหลวและอาหารที่อาเจยีนเข้าสู่หลอดลมอาจทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดิน หายใจอย่างเฉียบพลัน
อาการแสบท้องหรือแสบบริเวณยอดอก
ปัญหาทางจิตใจ อาการคลื่นไส้ อาเจียนที่เกิดขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ให้การดูแลทันทีเมื่อพบผู้ป่วยกําลังอาเจียน
2.การช่วยเหลอืหลังอาเจียน
การป้องกันการอาเจียนซ้ำและบรรเทาอาการอาเจียน
การใส่สายจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร Nasogastric tube / NG tube
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเป็นทางให้อาหารน้ําหรอืยา
เป็นการลดแรงดันจากกระเพาะอาหารและลําไส้
เป็นทางเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร เพื่อยับยั้งการมีเลือดออกในกระเพาะ อาหารหรอืลําไส้ส่วนต้น
เพื่อล้างในกระเพาะอาหาร
เพื่อดูดเอาสิ่งที่ค้างในกระเพาะอาหารไปตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การดูแลผู้ป่วยที่คาสายจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร Nasogastric tube / NG tube
หลังใส่ทันที
จัดท่าผู้ป่วยให้สุขสบาย
-รอยต่อต่างๆของสายว่าแน่นเรยีบร้อยดี
รูจมูกหรือปากไม่ถูกดึงรั้งจากพลาสเตอร
สายอยู่ตําแหน่งที่ผู้ป่วยสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้โดยไม่ดึงรั้งและสุขสบาย
ระหว่างที่ผู้ป่วยมีสายคาอยู่
-ตําแหน่งของสายไม่ให้สายเลื่อนหลุด
ไม่ให้สายเลื่อนจากตําแหน่งเดิมโดยสังเกตจากรอยพลาสเตอร์
-ให้ผู้ป่วยมีอสิระในการเคลื่อนไหวร่างกายได้พอควร
-ดูแลไม่ให้สายหักพับงอหรอืกดทับบริเวณผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
กลไกการขับถ่ายอุจจาระ
เมื่ออาหารที่เหลือจากการย่อยและดูดซึมไปใช้มาสะสมบริเวณลําไส้ตรง (Rectum) จนมีจํานวนมากเพียงพอ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่าย
การได้รับสารน้ำ
การได้รับอาหาร (Nutrition needs)
3.การได้รับออกซิเจน(Oxygenneeds)
4.การหลกีเลี่ยงความเจ็บปวด(Painavoidance)
5.การออกกําลังกาย(Exercise)
ความต้องการด้านจิตใจ (Psychological needs)
ปัญหาที่พบบอ่ยเกี่ยวกับการขบัถ่ายอุจจาระและแนวทางช่วยเหลือ
ท้องผูก (Constipation)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการท้องผูก
อาหาร แนะนํากระตุ้น ช่วยเหลือให้รับประทานอาหารชนิดที่มีใยอาหารมากและมีปริมาณมากพอ
น้ํา แนะนํากระตุ้น ช่วยเหลือให้ดื่มน้ําให้เพียงพอ วันละ 2,000 - 2,500 มิลลิลิตร
3 ช่วยเหลือการถ่ายอุจจาระ แนะนําและช่วยเหลือ
4 การฝึกถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา เป็นวิธีการป้องกันและแก้ไขอาการท้องผูกที่ดี
5 การออกกําลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกาย
6.หากผู้ป่วยมีอาการท้องผูกติดต่อกันหลายวัน
เมื่อใช้ยาแล้วไม่ได้ผล แพทย์มักให้ใช้วิธีสวนอุจจาระซึ่งมีการใช้สารละลายชนิดต่าง ๆ
การถ่ายอุจจาระเป็นเลือด (Melena)
สาเหตุ
มีแผลการบาดเจ็บหรอือักเสบที่กระเพาะอาหารลําไส้เล็กลําไส้ใหญ
มีเน้ืองอกมะเร็งที่กระเพาะอาหารลําไส้เล็กลําไส้ใหญ
3.ริดสดีวงทวาร
4.ความผิดปกติของระบบเลือดเช่นมีเลอืดออกง่าย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับปัสสาวะ
การประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ
แบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะแบบแผนการขับถ่ายปัสสาวะในแต่ละคนจะแตกต่างกัน
ลักษณะและส่วนประกอบของปัสสาวะ
ความถ่วงจําเพาะค่าปกติอยู่ระหว่าง1.003-1.030
ความเป็นกรดด่าง(pH)น้ําปัสสาวะมีสภาพเป็นกรดอ่อนpHประมาณ4.5-6
การสวนปัสสาวะ(Catheterization)
การสวนปัสสาวะแบบเป็นระยะ ๆ หรือเป็นครั้งคราว (Intermittent catheter)
การสวนปัสสาวะค้างไว้ (Retention of urethral catheter)