Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย - Coggle Diagram
บทที่8 หลักการพยาบาลในการให้ยาแก่ผู้ป่วย
การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม
ไม่สบายต้องฉีดยาจึงจะหาย
ไม่มีแรงต้องให้น้ำเกลือ
หยุดยาเองหรือปรับยาเอง
กินยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ
ผลกระทบการใช้ยาที่ไม่สมเหตุสมผล
เกิดเชื่อโรคดื้อยา (antimicrobial resistance)มากขึ้น
ปัญหาด้านประสิทธิภาพของการรักษา
ปัญหาความคลาดเคลื่อน/ผลข้างเคียงของยา
ผู้ป่วยอยู่รพ.นานขึ้น
อัตราการเสียชีวติสูงขึ้น
สูญเสียทางเศรษฐกิจ40,000ล้านบาท/ปี
ความปลอดภัยในการบริหารยาของพยาบาล
1.จัดยาอย่างมีสติและสมาธิ
จัดยาอย่างถูกต้อง เช่น 6R ,7R,10R
3.ถ้าไม่แน่ใจหรืออ่านไม่ออกให้ซักถามและพูดคุย
4.ปรับปรุงข้อมูลของยาที่จะให้แก่ผู้ป่วยอยู่เสมอ
5.ชี้บ่งสิ่งต่างๆให้ถูกต้องเพื่อสร้างความปลอดภัย
รายงานความเสี่ยงหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เมื่อเกิดขึ้น
7.เตรียมการแก้ไขให้พร้อมเมื่อเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
ยาหมดอายุเป็นอย่างไร?
1.ยาที่อยู่ในบรรจุภณัฑ์วันหมดอายุที่ระบุไว้บนบรรจุภณัฑ์
2.ยาแบ่งบรรจุล่วงหน้า(pre-pack)มีอายุการใช้งาน 1ปี นับจากวันที่แบ่งบรรจุ
3.ยาน้ำที่ยังไม่ได้เปิดใช้เก็บไว้ได้ 3ปี นับจากวันผลิต หลังเปิดใช้เก็บ ไว้ไม่เกิน6เดือน
4.ยาน้ำเชื่อมหลังเปิดใช้เก็บไว้ไม่เกิน1เดอืนและเก็บที่อุณหภูมห้อง (แต่ AZT syrup ต้องเก็บในตู้เย็น )
5.ยาปฏิชีวนะชนิดผงแห้งหลังผสมเก็บที่อุณหภูมิห้องได้7วันเก็บใน ตู้เย็นได้14 วัน
ยาหยอดตา ยาป้ายตา หลังการเปิดใช้ชนิดที่ใส่สารต้านเชื้อ มี อายุไม่เกิน1เดอืนแต่ชนิดไม่เติมสารต้านเชื้อใช้ให้หมดภายใน1วัน
บทบาทหน้าที่พยาบาลในการบริหารยาอย่างถูกต้อง
ทราบประวัติการแพ้ยาผู้ป่วย
ประเมินภาวะเจ็บป่วย อาการปัจจุบัญ จุดประสงค์และทางที่ให้ยา
คำนึงหลักความถูกต้องการให้ยา(10R)*
Right drug/Right Medicine: การให้ยาถูกชนิด
RightDose:ให้ยาขนาดถูกต้อง
Right route: ให้ถูกทาง
Righttime:ให้ตรงตามเวลา
Right patient : ใหผู้ป่วยถูกคน
Righteducation:การให้ความรู้ถูกต้อง
Rightdocumentation:บันทึกถูกต้อง
Right to refuse : สิทธิในปฏิเสธยา
Right assessment : ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาและประเมินถูกต้อง
Right drug-drug interaction and evaluation : การตรวจสอบปฏิกิริยาระหว่างกันของยาและประเมินถูกต้อง
ช่วยให้ผู้ป่วยรับยาได้ง่ายขึ้น
ให้การพยาบาลเพื่อช่วยให้ประสิทธิภาพของยาดีขึ้น
ประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังให้ยา ถ้ามีอาการผิดปกติให้รายงานแพทย์และลงบันทึก
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับวิธีใช้ยา ขนาด เวลาที่ให้อย่างชัดเจน
จัดเก็บรักษายาให้เหมาะสมและง่ายต่อการจัดยา
แยกจัดเก็บยาเสพติดมีกุญแจล็อกและตรวจเช็คทุกเวร
กรณีที่ให้ยาผิดพยาบาลต้องรายงานพยาบาลหัวหน้าเวรหรือแจ้งให้แพทย์ทราบทันที
ทางท่ีให้ยา
ฉีดยาเข้าหลอดเลือดดำ
ฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อ
ฉีดยาเข้าชั้นใต้ผิวหนัง
ฉีดยาเข้าชั้นผิวหนัง
รับประทานยาทางปาก
ให้ยาทางสายให้อาหาร
ให้ยาอมใต้ลิ้น
ให้สอดยาทางทวารหนัก
ขั้นตอนในการเตรียมยาฉีด
ตรวจสอบใบ
MARกับแพทย์ ตามหลัก10R
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
คำนวณยา
เตรียมยาตามหลัก 3ก
ล้างมือด้วย 70% alcoholก่อนฉีดยา
Identify ผู้ป่วย
อธิบายชนิด ฤทธิ์ของยา ผลข้างเคียง และการปฏิบัติตัว
เช็ดสำลีชุบ 70%แอลกอฮอล์วนออกนอก 2-3นิ้ว
ไล่อาการใน Syringe จนหมด