Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่ออันตราย, การแจ้งตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบ…
โรคติดต่ออันตราย
-
-
-
-
ข้อ ๓ ในกรณีที่มีโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังเกิดขึ้นหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดขึ้น
และพบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง
ให้บุคคลดังต่อไปนี้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด
-
-
ข้อ ๗
- การทำตามข้อ ๑ (๑) หรือ (๔) และข้อม ๒ (๑) หรือ(๔) เมื่อได้รับการแจ้งแล้ว ให้เจ้าพนักงานบันทึกข้อมูลไว้ตามที่กำหนด
- การแจ้งตามข้อ ๑ (๒) หรือ (๓) ข้อ ๒ (๒) หรือ (๓) ข้อ ๓ ข้อ ๔ และข้อ ๕ ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานตามแบบที่กรมอธิบดีควบคุมโรคประกาศ
-
ข้อ ๔ กรณีการแจ้งตามข้อ ๑ (๒) หรือ (๓) หากผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผู้ทํา การชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตรนั้นเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวแจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งเป็นข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลาง ภายในสามชั่วโมง
ข้อ ๕ กรณีการแจ้งตามข้อ ๒ (๒) หรือ (๓) หากผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผู้ทําการชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตรนั้นเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งเป็นข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรค
ในราชการบริหารส่วนกลาง ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง
-
การแจ้งตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ภายใน
ยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่พบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด
การแจ้งตาม (๑) หรือ (๔) ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่อาจแจ้งภายใน ยี่สิบสี่ชั่วโมงได้ ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวทันทีที่สามารถกระทําได้
การแจ้งตาม (๑) หรือ (๔) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
ซึ่งเป็นข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลางหรือเจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ภายในสามชั่วโมงนับแต่พบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า
เป็นโรคติดต่ออันตราย