Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ที่มีปัญหารับประทานอาหารและน้ำ การขับถ่ายอุจจาระและปัส…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ที่มีปัญหารับประทานอาหารและน้ำ การขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ผลของอาการคลื่นไส้ อาเจียน
การสูดสําลักของเหลวและอาหารที่อาเจียนเข้าสู่หลอดลม อาจทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจอย่างเฉียบพลัน หรือเกิดหลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
อาการแสบท้องหรือแสบบริเวณยอดอก เกิดจากการที่กรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนจากกระเพาะอาหารผ่านขึ้นมาทางหลอดอาหาร
สูญเสียน้ำอิเล็กโทรไลต์และพลังงานสารอาหาร เกิดจากการเสียน้ำจากอาหาร รวมถึงน้ำย่อยที่ปนออกมาพร้อมกับอาเจียน
ปัญหาทางจิตใจ อาการคลื่นไส้ อาเจียนที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะหากมีอาการเกิดขึ้นบ่อย ๆจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการกลัว ตกใจ กังวลใจ
อ่อนเพลีย ไม่สุขสบาย เนื่องจากมีการบีบตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง
สาเหตุของการเบื่ออาหาร
พยาธิสภาพทางด้านร่างกาย
ความผิดปกติด้านอารมณ์และจิตใจ
ผลจากการติดยาเสพติด
ผลข้างเคียงของการรักษา
คลื่นไส้ (nausea) และอาเจียน (vomiting, emesis)
คลื่นไส้ (nausea) เป็นความรู้สึกไม่สุขสบายในท้อง ที่ต้องการเอาสิ่งที่ค้างในกระเพาะอาหารออกมามักเป็นอาการนํามาก่อนอาการอาเจียน แต่อาจมีอาการคลื่นไส้โดยที่ไม่มีอาการอาเจียนตามาก็ได้
อาเจียน (vomiting, emesis) เป็นอาการที่มีแรงดันจากภายในร่างกาย มีการบีบตัวของกระเพาะอาหาร กล้ามเนื้อหน้าอก เพื่อนําสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหารออกมาทางปาก ส่วนใหญ่เกิดตามหลังอาการคลื่นไส้ แต่อาจมีอาการอาเจียนโดยไม่มีอาการคลื่นไส้นํามาก็ได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ํา
ระบบทางเดินอาหาร (Digestives System) ระบบทางเดินอาหาร เป็นอวัยวะภายในของมนุษย์ที่ใช้ในการย่อยอาหารและดูดซับพลังงาน รวมทั้งสารอาหารต่าง ๆ
เบื่ออาหาร (Anorexia)
เบื่ออาหาร เป็นอาการที่มีความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้านเมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็น อาหาร เกิดจากความไม่สดดุลของการกระตุ้นของศูนย์ความหิว (Feeding center) และศูนย์ความอิ่ม (Satiety center)
สาเหตุของอาการคลื่นไส้ อาเจียน
สาเหตุของอาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่พบได้บ่อย ๆ ได้แก่ แพ้อาหาร มีอาการตอบสนองต่อกลิ่นที่ไม่ชอบ การติดเชื้อ การอักเสบผิดปกติในกระเพาะอาหารและลําไส้ มีอาการกรดไหลย้อน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ให้การดูแลทันทีเมื่อพบผู้ป่วยกําลังอาเจียน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยปลอดภัยและเกิดความสุขสบาย
การช่วยเหลือหลังอาเจียน
การป้องกันการอาเจียนซ้ําและบรรเทาอาการอาเจียน
การพยาบาลผูป่วยที่มีอาการเบื่ออาหาร
พยายามหาสาเหตุแล้วขจัดสาเหตุพิจารณาสาเหตุง่าย ๆ ก่อน ซึ่งสาเหตุที่พบได้บ่อย เช่น
ความผิดปกติของปาก ฟัน เหงือก รวมถึงอาการเจ็บคอ เป็นไข้
ลดความรู้สึกเบื่ออาหารและส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารด้วยวิธีต่าง ๆ
การดูแลด้านจิตใจ ซึ่งมีความสําคัญอย่างยิ่ง พยายามให้ช่วงเวลารับประทานอาหาร
เป็นช่วงที่จิตใจสบาย บรรยากาศที่ผ่อนคลาย
การดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้เพียงพอ สังเกต สอบถามและบันทึกปริมาณอาหาร
ที่ผู้ป่วยสามารถรับประทานได้ รวมถึงอาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับประทานอาหารและน้ํา
การให้อาหารทางสายยาง (feeding)
การใส่สายจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร Nasogastric tube / NG tube
การป้อนอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายอุจจาระ
การขจัดของเสียออกจากร่างกายมีหลายทาง ระบบทางเดินอาหารทําหน้าที่ขจัดของเสียโดยการ ขับถ่ายอุจจาระ การย่อยอาหารเริ่มเล็กน้อยตั้งแต่ในปากกระเพาะอาหาร อาหารส่วนใหญ่ถูกย่อยที่ลําไส้เล็ก จนเสร็จสมบูรณ์รวมทั้งดูดซึมสารอาหารน้ําไปใช้การอาหารและน้ําย่อยที่เหลือประมาณ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่าย
การได้รับออกซิเจน (Oxygen needs) ในคนที่ขาดออกซิเจน จะทําให้เนื้อเยื่อของลําไส้ถูกทําลาย ทําให้การเคลื่อนไหวของลําไส้ลดลง
การหลีกเลี่ยงความเจ็บปวด (Pain avoidance) ความเจ็บปวดจะรบกวนการปิดและเปิดของกล้ามเนื้อหูรูดบริเวณทวารหนัก ทําให้ไม่กล้าเบ่งถ่าย
การได้รับอาหาร (Nutrition needs) การได้รับอาหารที่มีกากน้อยจะทําให้การเคลื่อนไหวของ
ลําไส้ลดลง ทําให้ท้องผูก ความอยากอาหารลดลง
การออกกําลังกาย (Exercise) การออกกําลังกายช่วยทําให้การเคลื่อนไหวของลําไส้ดีขึ้นและการไหลเวียนของโลหิตดี ช่วยในการขับถ่ายให้ดีด้วย
การได้รับสารน้ำ (Fluid intake) ถ้าดื่มน้ำน้อยจะทําให้อุจจาระแข็ง ถ่ายลําบาก
ความต้องการด้านจิตใจ (Psychological needs) เกี่ยวกับสถานที่ที่จะถ่ายต้องมีความเป็นส่วนตัว เรื่องของกลิ่น เสียงจะมีผลต่อการปิดเปิดของกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนัก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับปัสสาวะ
การประเมินการขับถ่ายปัสสาวะ
ลักษณะของปัสสาวะผิดปกติ (Abnormal characteristics of urine)
อาการและอาการแสดงที่ผิดปกติของผู้ป่วยระบบทางเดินปัสสาวะ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการและอาการแสดงที่ผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานและช่องคลอด
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ส่งเสริมการถ่ายปัสสาวะเองตามแบบแผนปกติ