Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การป้องกันการติด เชื้อและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค -…
บทที่ 2 การป้องกันการติด เชื้อและการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (Isolation precautions)
หมายถึงการปฏิบัติเพื่อป้องกันมิให้เชื้อจุลชีพจาก ผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือผู้ที่มีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น สู่บุคลากรหรือญาติผู้ป่วยการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออาจทา ได้หลายวิธีได้แก่การแยกผู้ป่วย การทำความสะอาดมือ การทำลายเชื้อบนวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission)
การแพร่กระจายเชื้อโดยละอองฝอยน้ำมูกน้าลาย Droplet transmission
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
วงจรการติดเชื้อ (Chain of infection)
ทางออกของเชื้อจากแหล่งแพร่เชื้อโรค (Portal of exit)
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ (Mode of transmission)
แหล่งของเชื้อโรค (Reservoir or source)
วิถีทางที่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย (Portal of entry)
เชื้อก่อโรค (Infection agent)
คนที่ไวต่อการรับเชื้อโรค (Susceptible host)
การป้องกันออกเป็น 2 ประเภท
Standard precautions
เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกราย โดยให้คำนึงว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคที่สามารถติดต่อได้ ทางเลือดและสารคัดหลั่งจากร่างกายทุกชนิด Body fluid,Secretion,Excretionยกเว้น เหงื่อ
การจัดการผ้าและการซัก (Linen and laundry)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับประทานอาหาร (Eating utensils)
การทาความสะอาดเตียงผู้ป่วยและสิ่งของเครื่องใช้ภายในห้องผู้ป่วยตลอดจนสิ่งแวดล้อมรอบๆ ผู้ป่วย(Routineandterminalcleaning/Environmentalcontrol)
การดูแลอุปกรณ์เครื่องมือ–เครื่องใช้ของผู้ป่วย(Patientcareequipment)
สวมเครื่องมือป้องกันร่างกาย(Protectivebarriers)
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยท่ีมีการติดเชื้อ (Transport of infected patient)
การล้างมือและการสวมถุงมือ(Handwashingandgloving)
การจัดสถานที่สำหรับผู้ป่วย (Patient placement)
Transmission-based precautions
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในผู้ป่วยที่ ทราบการวินิจฉัยแล้ว
การประกาศภาวะโรคระบาดโลกมีหลักการเบื้องต้นอยู่ 3 ประการคือ
มีการติดต่อระหว่างคนสู่คน
การแพร่ระบาดลุกลามไปทั่วโลก
โรคสามารถก่อใหเ้กิดอาการป่วยจนถึงเสียชีวิต
การแพร่กระจายของโรคติดเชื้อมี 4 ระดับ
Outbreak (การระบาด)
Epidemic (โรคระบาด)
Endemic (โรคประจำถิ่น)
Pandemic (การระบาดใหญ่ทั่วโลก)
สาเหตุของการติดเชื้อโรคของผู้ป่วยมาจาก 2 แหล่ง
1.การติดเชื้อโรคที่อยู่ภายนอกนอกร่างกายของผู้ป่วย
2.เป็นการติดเชื้อโรคท่ีมีอยู่ในร่างกายของผู้ป่วยเอง
การปฏิบัติเพื่อให้อุปกรณ์คงความปราศจากเชื้อสามารถกระทาโดยยึดหลัก ของเทคนิคปราศจากเชื้อ
สิ่งที่ปราศจากเชื้อถ้าอยู่นอกสายตาหรือต่ำกว่าเอวให้ถือว่าไม่ปราศจากเชื้อ
สิ่งที่ปราศจากเชื้อถ้าสัมผัสกับอากาศมากหรือนานเกินไปถือว่าไม่ปราศจากเชื้อ
สิ่งที่ปราศจากเชื้อจะคงสภาพปราศจากเชื้อเมื่อถูกเก็บรักษาอย่างปราศจากเชื้อ
ระยะ 1 นิ้ว จากขอบหรือริมพื้นท่ีปราศจากเชื้อ ถือว่าไม่ปราศจากเชื้อ
สิ่งที่ปราศจากเชื้อสัมผัสได้กับสิ่งที่ปราศจากเชื้อเท่านั้น
หากไม่แน่ใจว่าสิ่งที่ปราศจากเชื้อยังคงความปราศจากเชื้อหรือไม่ให้ถือว่าสิ่งของน้ัน
การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคเป็นการปฏิบัติที่มีความสกตัญญูและจาเป็นอย่างยิ่งสำหรับ พยาบาลเพราะเป็นการปฏิบัติเพื่อป้องกนัและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคจากผู้ป่วยรายหน่ึงไปสู่ผู้ป่วยรายอื่นๆ
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อที่ติดต่อทางละอองน้ำมูก น้ำลาย (droplet precaution)เช่นโรคหวดั และโรคคอตีบเป็นต้น โดยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกหรืออยู่ในห้องที่มีผู้ป่วยติดเชื้อชนิดเดียวกันหรือเว้รระยะห่างจากผู้ป่วยคนอื่นอย่างน้ยย3ฟุต
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเมื่อติดต่อและสัมผัส (contact precaution) เช่น การติด เชื้อโรคติดต่อทางผิวหนังการติดเชื้อดื้อยาบางชนิดโดยให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกหรืออยู่ในห้องท่ีมีผู้ป่วยติด เชื้อชนิดเดียวกัน สวมถุงมือสะอาดทุกคร้ังก่อนเข้าห้อง ถอดถุงมือก่อนออกจากห้องผู้ป่วยหรือภายหลังสัมผัส บริเวณที่ติดเชื้อโรค ล้างมือทันทีท่ีถอดถุงมือสวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายอื่น ๆ ตามความจาเป็นและถอดก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
1.แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อที่ติดต่อได้ทางอากาศ(airborneprecaution)เช่น วัณโรค โรคหัด โรคหัดเยอรมันโดยการให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกที่มีระบบควบคุมการหมุนเวียนอากาศ ภายในห้องหรืออยู่ในห้องที่มีการระบายอากาศที่ดีและปิดประตูตลอดเวลาการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องกระทำเท่าที่จาเป็นเท่านั้น