Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Amphetamine Induced Psychosis Amphetamine - Coggle Diagram
Amphetamine Induced Psychosis
-
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยชายไทย อายุ 28 ปี มีประวัติว่า
3 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เสพยาบ้า ดื่มสุรา มีอาหารหูแว่ว มีภาพหลอน เห็นผี หวาดระแวง กลัวคนมาทำร้าย เป็นครั้งละ 2 – 3 วัน เป็นๆ หายๆ
3 เดือนก่อน พูดคนเดียวแทบทุกวัน มองเห็นผี หวาดระแวงกลัวคนมาทำร้าย หงุดหงิด ไล่ชกต่อยคนในละแวกบ้าน กลางคืนเดินไปมา
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เดินแก้ผ้า ท้าชกต่อยคนในละแวกบ้าน พ่อ ตา
และน้าเกลี้ยกล่อมให้มารักษา ผู้ป่วยปฏิเสธ จึงมัดมือนำส่งโรงพยาบาล
-
-
-
สารเสพติดหมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ที่เสพเข้าสู่ร่างกายด้วย การรับประทาน ดม สูบ ฉีด แล้วจะเกิดความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจต่อไป โดยไม่สามารถหยุดเสพได้ซึ่งต้องเพิ่มปริมาณและขนาดขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดโรคทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ประเภทของยาเสพติด
-
-
-
4.ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสานมีฤทธิ์กดประสาท กระตุ้นประสาทหรือหลอนประสาทได้ในคราวเดียวกันชนิดของสารเสพติด กัญชา
-
สาเหตุของการติดสารเสพติด
1.ปัจจัยจากตัวสารเสพติดการซื้อขายสามารถทำได้ง่าย และมีการใช้ยาแบบลูกโซ่คือผู้ป่วยเสพยาร่วมกับเพื่อนๆ
2.ปัจจัยจากผู้เสพ
2.1 ปัจจัยทางกาย พันธุกรรมไม่มีประวัติคนในครอบครัวเสพยาเสพติด พยาธิสภาพในสมอง ไม่พบประวัติของการมีพยาธิสภาพที่สมอง
2.2 ปัจจัยทางจิตใจ ปัญหาด้านบุคลิกภาพ เช่น มีบุคลิกชอบเลียนแบบหรือทำตามผู้อื่น (Dependent personality) คือเสพยาตามเมื่อเพื่อนชักชวน
2.3 ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ครอบครัว ลักษณะครอบครัวเป็นแบบครอบครัวขยาย สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ค่อยมีเวลาให้ซึ่งกันและกัน เนื่องจากบิดาและมารดาทำงานอยู่ต่างอำเภอ ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่กับตายาย ครอบครัวไม่มีเวลา ขาดความอบอุ่น กลุ่มเพื่อน ตอนเย็นหลังเลิกงานผู้ป่วยจะดื่มเบียร์ทุกวันวันละ 3 – 4 กระป๋อง หากวันไหนมีเพื่อนมาหาก็จะดื่มวันละ 2 – 3 ลัง ผู้ป่วยจะติดการสูบบุหรี่ ผู้ป่วยจะสูบบุหรี่วันละประมาณ 10 มวน ตั้งแต่ 3 ปีก่อน ทำยอดในการขายได้เยอะก็จะเสพยาบ้า ร่วมกับการติดเพื่อน เพื่อนก็จะชวนเสพ
-
เป้าหมายของการรักษา
-
• เพื่อให้ผู้ป่วย การลดปริมาณการใช้สาร (Moderation) ซึ่งเป็นแนวทางที่เน้นพฤติกรรมการเสพหรือการใช้สารแล้วทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะเป็นอันตรายมากกว่าที่จะมุ่งที่พฤติกรรมเสพสารโดยตรง
-
แอมเฟตามีน
เป็นสารกระตุ้นประสาทที่รู้จักกันในชื่อยาบ้า เดิมเรียกว่า ยาม้า เป็นยาเสพติดที่มีส่วนประกอบหลักคือสารสังเคราะห์กลุ่มแอมเฟตามีน มี 3 รูปแบบ คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (amphetamine sulfate) เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไอโดรคลอไรด์ (methamphetamine hydrochloride) เสพโดยรับประทานดดยตรงผสมในอาหารเครื่องดื่ม หรือสูดดมเป็นไอระเหยของยาบ้าที่บดแล้วนำไปลนไฟ ฉีดเข้าเส้นเลือด
-
-