Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางหนิ้ว วงค์ปัญญา อายุ 81 ปี โรคประจำตัว : HT - Coggle Diagram
นางหนิ้ว วงค์ปัญญา
อายุ 81 ปี โรคประจำตัว : HT
การปฎิบัติกิจวัตรประจำวันสามารถทำได้ด้วยตนเองทั้งหมด รับประทานอาหารเองได้ แต่ไม่สามารถทำอาหารได้ ในการเคลื่อนไหว ไม่สามารถเดินได้ แต่เคลื่อนไหวโดยใช้วิธีการกระเถิบไปทีละน้อย โดยที่เบาะรองบริเวณสะโพกไว้
การใช้ยา
GPO palm,Omeprazole,Antacid,Vitamin Bco,
Vitamin B6,Vit B1-612,Betahistine,Diclofenac,
Simethicone,Clonazepam,Amlodipine
ข้อที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะแทรกช้อน เช่น เส้นเลือดในสมองแตกหรือตีบตัน เนื่องจากความดันโลหิตสูง
ข้อมูลสนับสนุน
ความดันโลหิต 130/70 mmHg
มีอาการมึนศีรษะ อ่อนเพลีย
กิจกรรมการพยาบาล
พูดคุยสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
สังเกตอาการและอาการแสดงเพื่อประเมินอาการและ ให้การพยาบาลที่เหมาะสม
วัดความดันโลหิต เพื่อประเมินระดับความดันโลหิตและให้การพยาบาล
แนะนำให้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์
แนะนำสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ชาปลายมือ -เท้า เจ็บหน้าอก บวม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม
ผู้ป่วยสมารถดำเนินชีวิตได้ปกติสุข
ข้อที่ 2 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว เช่น แผลกดทับ กล้ามเน้ือลีบ ข้อยึดติด
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีร่างกายผอมหนังติดกระดูก
เคลื่อนไหวโดยการกระเถิบ และใช้มือพยุงช่วย
ผู้ป่วยใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนเตียง
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว เช่น แผลกดทับ กล้ามเน้ือลีบ ข้อยึดติด
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่เกิดเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว เช่น แผลกดทับ กล้ามเน้ือลีบ ข้อยึดติด
กิจกรรมการพยาบาล
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ประเมินลักษณะของผิวหนังบริเวณที่ถูกกด ทับว่ามีรอยแดงรอยถลอกมีแผลหรือมีการลอกหลุดของ ผิวหนังโดยเฉพาะผิวหนังบริเวณปุ่มกระดูกทุกส่วน
สอนแนะญาติในการดูแลความสะอาดของ ผิวหนัง โดยเฉพาะผิวหนังบริเวณหลัง และก้นกบให้แห้ง และสะอาดอยู่เสมอ
สอนแนะญาติในการดูแลให้สวมใส่เสื้อผ้าที่ สะอาด ผ้าปูที่นอนสะอาด และปูให้เรียบตึงไม่ควรให้ ผิวหนังผู้ป่วยสัมผัสกับผ้ายางโดยตรง เพื่อป้องกันการอับ ชื้น และป้องกันการเสียดสี
สอนแนะญาติในการดูแลผู้ป่วยลดแรงกด ทับที่บริเวณปุ่มกระดูกต่าง ๆ โดยการกระตุ้นให้ขยับตัว
การป้องกันการเกิดภาวะกล้ามเน้ือลีบ ข้อยึดติด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการปฏิบัตักิจวัตรประจำวันด้วยตนเองเท่าท่ีจะสามารถปฏิบัติได้
แนะนำญาติ ในการกระตุ้นให้ผู้ป่วยออก กำลังกล้ามเน้ือต้นขา ข้อสะโพก (ข้างที่ไม่ได้หัก) และข้อ เท้า เพื่อให้กล้ามเน้ือมีการหดคลายตัว เพิ่ม muscle tone และความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ ข้อต่าง ๆ ได้มีการ เคลื่อนไหวซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังน้ี
2.1) การออกกำลังกล้ามเนื้อต้นขา (Quadri- ceps Setting Exercise) คือ การเกร็งกล้ามเนื้อต้นขา โดย ข้อไม่มีการเคลื่อนไหว เพื่อให้กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรง สามารถรับน้ำหนักตัวได้ เมื่อเร่ิมหัดยืน และหัดเดิน
2.2) การออกกำลังข้อสะโพกคือการยกขา ข้ึนตรง ๆ (Straight Leg Raising Exercise) ขณะเดียวกัน ก็เกร็งกล้ามเนื้อขาไว้ด้วย เป็นการป้องกันการงอของข้อสะโพก และทำให้กล้ามเนื้อต้นขาแข็งแรง
2.3) การออกกำลังข้อเท้าคือการให้ผู้ป่วย กระดกข้อเท้าขึ้นปล่อยข้อเท้าลง หมุนข้อเท้าเข้าด้านใน และหมนุข้อเท้าออกด้านนอก เป็นการป้องกันข้อเท้าตก ซึ่งจะทำให้เดินไม่ได้
ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ เกิดจากการมีแรงต้านทานการไหลเวียนโลหิตในร่างกายเพิ่มขึ้น ทำให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น