Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Aspiration pneumonia ปอดอักเสบจากการสูดสำลัก, การรักษา - Coggle Diagram
Aspiration pneumonia
ปอดอักเสบจากการสูดสำลัก
ระยะของโรค
ระยะเนื้อปอดแข็ง (Stage of consolidation) ระยะแรกจะพบว่ามีเม็ดเลือดแดงและfibrinอยู่ในถุงลมเป็นส่วนใหญ่ หลอดเลือดที่ผนังถุงลมปอดขยายตัวมากขึ้น ทำให้เนื้อเยื่อปอดสีแดงคล้ายตับสด ()Red heptization
ระยะปอดฟื้นตัว (Stage of resolution) เมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้ WBC สามารถทำลายแบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมด จะมีเอนไซม์ออกมาละลายfibrin WBCและหนองก็จะถูกขับออกมาเป็นเสมหะมีลักษณธเป็นสีสนิม
*กรณีศึกษาอยู่ในระยะฟื้นตัว
ระยะบวมคั่ง (Stage of congestion or edema) เชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนอง มีเลือดมาคั่งบริเวณที่มีการอักเสบ หลอดเลือดขยายตัว มีแบคทีเรีย เม็ดเลือดแดง fibrin และ WBC ออกมากินแบคทีเรีย ระยะนี้กินเวลา 24-46 ชม.หลังเชื้อโรคเข้าสู่ปอด
ลักษณะการติดเชื้อ
2.การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ปอดโดยตรง การสูดหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศในรูปละอองฝอยขนาดเล็ก เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบจากกลุ่มเชื้อไวรัส เชื้อวัณโรค และเชื้อรา
3.การแพร่กระจายของเชื้อตามกระแสโลหิต เป็นทางสำคัญที่ทำให้เกิดปอดอักเสบจากเชื้อที่ก่อโรคในอวัยวะอื่น
1.การสำลักเชื้อที่สะสมรวมกลุ่มอยู่บริเวณทางเดินหายใจส่วนบนลงไปสู่เนื้อปอด เช่น สำลักน้ำลาย อาหาร หรือสารคัดหลั่งในทางเดินอาหาร หากในระยะนี้ผู้ป่วยมีร่างกายอ่อนแอ มีการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนหรือมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย ก็จะทำให้เกิดปอดอักเสบได้
*กรณีศึกษาเกิดการติดเชื้อจากการสำลักอาหาร
4.การลุกลามโดยตรงจากการติดเชื้อที่อวัยวะข้างเคียงปอดเช่น เป็นฝีในตับแล้วแตกตัวเข้าสู่เนื้อปอด
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดปอดอักเสบ
บุคคลที่มีโรคเรื้อรัง เช่น โรคถุงลมโป่งพองและโรคปอดเรื้อรัง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตวายเรื้อรัง และโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ปัจจัยอื่นๆ เช่น ดื่มสุราเรื้อรัง สูบบุหรี่ อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดที่มีระบบสุขาภิบาลไม่ดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลภาวะ
บุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต่ำตามวัย คือคนที่มีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป
*กรณีศึกษาเป็นบุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต่ำตามวัย เพราะมีอายุ 78 ปี
อาการและอาการแสดง
อาการเฉพาะที่ในระบบทางเดินหายใจ
ไอ เสมหะเยอะ เสมหะสีเหลืองหรือเป็นหนอง หอบเหนื่อย หายใจลำบาก หายใจเร็ว
*กรณีศึกษา ผู้ป่วยมีทั้งอาการแสดงที่เจาะจงและไม่เจาะจง คือ มีอาการ ซึม นอนอย่างเดียว ไม่มีไข้ ไอแห้ง ไม่มีน้ำมูกหรือเจ็บคอ มีอาการหอบเหนื่อย บ่นว่าเหนื่อยขึ้น นอนราบได้ ไม่มีอาการตื่นมาหอบตอนกลางคืน ไม่มีคลื่นไส้ หรืออาเจียน ถ่ายเหลว 1- 2 ครั้ง/ วัน ไม่มีมูกเลือด ไม่มีปัสสาวะขุ่นหรือแสบขัด อ่อนเพลีย กินได้น้อย
อาการที่ไม่เฉพาะเจาะจง
เช่น มีไข้ บางรายอาจจะมีหนาวสั่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย ซึมลง
กลไกการเกิด
สำลักอาหาร
ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
เชื้อในเสมหะหรือเมือกในทางเดินหายใจส่วนต้นแพร่เข้าสู่ถุงลม
ในถุงลมจะมีกลไกการป้องกัน เพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไปโดยการไอ
ถ้าร่างกายไม่มีกลไกนี้ ปอดจะมีการอักเสบ
มีน้ำและน้ำเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลม และไหลเข้าสู่หลอดลมฝอย
ทำให้เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส O2และ CO2 ลดลง และขจัดเชื้อโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดเพื่อขจัดออกนอกร่างกาย
จะมีWBCและRBC รวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น ทำให้บริเวณถุงลมแคบและเเข็ง
1 more item...
ภาวะแทรกซ้อนของปอดอักเสบ
ภาวะมีน้ำหรือเป็นหนองในเยื่อหุ้มปอด
ภาวะฝีในปอด
ภาวะช็อค กรณีติดเชื้อรุนแรง นำไปสู่ระบบอวัยวะภายในล้มเหลว
ภาวะการหายใจล้มเหลว
การติดเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือด กรณีสาเหตุของปอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
*กรณีศึกษา ติดเชื้อ Beta hemolytic streptococci
Sepsis
อาการ
หายใจเร็วขึ้น
ชีพจรเต้นเร็วขึ้น
ผู้ป่วยเป็นไข้ขึ้นสูง บางรายอาการอาจค่อยๆรุนแรงขึ้นและอาจป่วยเป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบร่วมด้วย
รู้สึกตัวน้อยลง สับสนจนคิดอะไรไม่ออก
รู้สึกหนาว มือและเท้าเย็นมาก
คลื่นไส้และอาเจียน
ปัสสาวะน้อย
ผิวหนังอาจเกิดจุดแดง หากปล่อยไว้นานจะจะลุกลามใหญ่ขึ้นเหมือนรอยช้ำ
เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ น่ำไปสู่ภาวะช็อก (Septic shock)
*กรณีศึกษา ในวันที่เกิด Septic shock ผู้ป่วยมีอาการไข้สูงเกิน 38 องศา หายใจเร็ว ชีพจรเต้นเร็ว BP drop ซึมลง
Septic shock
ช็อกจากการติดเชื้อ
กลไก/พยาธิสภาพ
1 more item...
อาการ
7 more items...
สาเหตุ
10 more items...
การรักษา
3 more items...
สาเหตุ
โรคที่เกี่ยวกับการติดเชื้อในปอด เช่น ปอดอักเสบ
*กรณีศึกษาเป็นโรคปอดอักเสบ
การติดเชื้อที่ไต
โรทางเดินปัสสาวะอักเสบ
การติดเชื้อบริเวณท้อง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย
ต่อมหมวกไตล้มเหลว
อวัยวะในส่วนที่ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ รวมไปถึงการทำงานของหัวใจ ปอด ไต
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
กลไก/พยาธิสภาพ
ภาวะการติดเชื้อในกระแสเลือดจากเชื้อแบคทีเรีย
ติดเชื้อที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
ซึมเข้าสู่กระแสเลือด
ถ้าไม่รักษาทันที จะอักเสบทั่วร่างกาย
1 more item...
การรักษา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
รักษาตามอาการ
ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ติดเชื้อเข้าสู่เยื่อหุ้มสมอง
การรักษา
ยาปฏิชีวะ
ให้ออกซิเจน
ใช้ยาขยายหลอดลม
ให้สารน้ำให้เพียงพอ
การใช้เครื่องพยุงการหายใจ
ทำกายภาพบำบัดทรวงอก