Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ
Abdominal pain,…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ
Abdominal pain, diarrhea syndrome
อาการ =ปวดจุกแน่นใต้ลิ้นปี่ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร บางรายอาจมีท้องเสียร่าม มักปวดหลังทานอาหารประมาณครึ่งถึง หนึ่งชั่วโมง บริเวณใต้ลิ้นปี่ ค่อนมาทางซ้ายสัมพันธ์กับประวัติการดื่มแอลกอฮอล์ NSAID
บางรายอาจมีถ่ายดำ
-
-
Gastritis, Gastric ulcer : แผลที่กระเพาะอาหาร
อาการ: ปวดท้องเรื้อรังหลายวันหรือหลายสัปดาห์ ปวดท้องเป็นๆ หายๆ เรื้อรังปวดบริเวณกลางยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ เวลาปวดมักสัมพันธ์กับมื้ออาหาร อาจปวดแสบ ปวดซื้อ จุกเสียด บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรือเรอเปรี้ยว ร่วมด้วย อาจมีอาการปวดแน่นๆ เวลาหิว หรือท้องว่าอาการปวดจะดีขึ้นเมื่อ รับประทานอาหาร มักมีประวัติมักรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ปวดมากเมื่อดื่มสุรา หรือเวลาเครียด อาจมีประวัติเลือดออกจากทางเดินอาหาร เช่น อาเจียนดำ ถ่ายดำ เลือดจาง
-
-
แนวทางการรักษา: รักษาเช่นเดียวกับแผลที่กระเพาะอาหาร
ถ้ามีอาการ อาเจียนเป็นเลือด หรือถ่ายดำควรส่งต่อโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องพิจารณา ให้เลือดแล้วตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาตามสาเหตุที่พบ หาก มีอาการปวดท้องรุนแรง ปวดท้องติดต่อกันนานเกิน 6ชั่วโมง หรืออาเจียนรุนแรง หรือ มีอาการท้องแข็ง ให้รีบส่งต่อโดยด่วน
อาการ=ปวดรุนแรงที่ชายโครงขวาร้าวไปที่ไหล่ขวาหรือบริเวณ หลังใต้สะบักขวา ปวดมากขึ้นเมื่อไอหรือหายใจลึกๆ และหลังรับประทานอาหารมันๆ อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน หรือดีซ่านร่วมด้วย มักพบในเพศหญิงอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป มีบุตรหลายคน และอ้วน บางรายอาจมีท้องผูกหรือท้องอืดร่วมด้วย
-
การตรวจร่างกาย: มีไข้ มีการหดเกร็งหน้าท้องอย่างรุนแรงบริเวณ RUO หรือบริเวณใต้ชายโครงขวาตรวจท้องพบกดปล่อยเจ็บเฉพาะที่ (Localized Abound tenderness) Bowel Sound ลดลงตรวจพบ Murphy’s sign positive อาจพบอาการตัวตาเหลืองร่วมด้วย ผลการตรวจเลือดพบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น ตรวจทางรังสีพบนิ่วที่ถุงน้ำดี
แนวทางการรักษา: ส่งต่อแพทย์ทันที และอาจให้การช่วยเหลือเบื้องต้น ในการบรรเทาอาการปวดโดยให้ยาต้านการหดเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ (Antispasmodic) งดน้ำและอาหารเพื่อเตรียมรับการรักษาต่อไป ให้สารน้ําทางหลอดเลือดดำตามความ เหมาะสม
และดูแลให้ได้รับความสุขสบาย
อาการปวดท้องรุนแรง ปวดตลอดเวลาขยับเขยื้อนหรือ กระเทือนถูกจะเจ็บ ต้องนอนนิ่งๆเนื่องจากปวดท้องติดต่อกันหลายชั่วโมงจนกระทั่ง หลายวัน มีท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร บางรายมีท้องเดิน ถ้าเป็นรุนแรงอาจช็อค คือ กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็นใจสั่น เป็นลมหมดสติได้
-
การตรวจร่างกาย: มีไข้สูง ตรวจพบลักษณะเฉพาะที่ควรสังเกตคือ กล้ามเนื้อหน้าท้องมักจะมีอาการเกร็งแข็ง เรียกว่า ท้องแข็ง (Guarding) และกดเจ็บมาก เมื่อกดหน้าท้องลึกๆ แล้วปล่อยมือทันทีให้ผนังหน้าท้องกระเด้งกลับทันที (Rebound tenderness) ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บมาก เคาะท้องมีเสียงก้อง
การรักษา: หากสงสัยว่ามีอาการเยื่อบุช่องท้องอักเสบ ควรรีบนำผู้ป่วยส่ง โรงพยาบาลโดยด่วน และควรงดอาหารและน้ําในระหว่างเดินทางไปโรงพยาบาล เพราะ อาจต้องทำการผ่าตัดโดยด่วน
อาการ: ปวดท้องมาก เริ่มแรกปวดเป็นพักๆ รอบสะดือคล้าย โรคกระเพาะ หรือท้องเดิน อาจเข้าส้วมบ่อย แต่ถ่ายไม่ออก บางรายอาจสวนด้วย ยาถ่าย แต่บางรายอาจมีท้องเดินร่วมด้วย อาการปวดถึงแม้จะรับประทานยาแก้ปวด ก็ไม่ดีขึ้น 3-4 ชั่วโมง อาการปวดจะย้ายมาที่ท้องน้อยข้างขวาปวดเสียดตลอดเวลา ต้องนอนนิ่งๆ เคลื่อนไหวตัวจะทำให้ปวดมาก ผู้ป่วยจะมีคลื่นไส้อาเจียน และมีไข้ต่ําๆบางรายถ้าเป็นมากต้องนอนงอขาตะแคงไปข้างหนึ่งหรือเดินตัวงอจะรู้สึกสบายขึ้น อาการจะเป็นอยู่นับชั่วโมงถึงหลายวัน บางรายอาจมีปวดท้องน้อยข้างขวา และมีไข้ ร่วมด้วย
-
ตรวจร่างกาย: มักเดินตัวเอียงตะแคงไปทางขวาถ้านอนมักจะนอนงอขา ไปข้างใดข้างหนึ่งมีไข้ต่ําๆบางรายไม่มีไข้ ชีพจรเร็ว ลิ้นเป็นฝ้าหนา ตรวจท้องพบกดเจ็บตรงท้องน้อยข้างขวา โดยเฉพาะ ตรงจุดไส้ติ่ง หรือจุด Mc Burney pointมี Rebound tenderness rovsing sign อาจให้ผลบวก และตรวจพบ Bowel Sound ลดลงกรณีไส้ติ่งแตก จะปวดเจ็บทั่วท้องน้อย ท้องแข็ง อาจคลำได้ก้อน และไข้สูง
แนวทางการรักษา: หากสงสัย ควรรีบส่งโรงพยาบาล ควรงดอาหาร น้ำดื่ม เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการผ่าตัดฉุกเฉิน ห้ามวางกระเป๋าน้ าร้อน อาจท าให้ไส้ติ่งแตกได้ การรักษาด้วยการผ่าตัดเอาไส้ติ่งออก
อาการ: ปวดท้อง อาเจียนน ามาก่อน จากนั้นมีถ่ายเป็นน้ําตามมา มักมี ส่วนด้วย บางรายอาจมีอาการคล้ายไข้หวัดร่วมด้วย อาการมักเป็นนาน 2-6 วัน ส่วนที่เป็นไม่มาก มักหายได้เองส่วนในรายที่เป็นมาก อาจมีภาวะขาดน้ำรุนแรง
-
-
การรักษา: 1. ให้การรักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ และให้สารละลายน้ําตาลเกลือแร่ 2. หากรับประทานไม่ได้ หรือมีภาวะขาดน้ ารุนแรง ควรส่งโรงพยาบาล อาจต้องให้สารน้ าเกลือทางหลอดเลือดดำ
อาการ: ปวดท้องรุนแรงใต้ลิ้นปีทันทีทันใด (บางรายอาจดื่มสุราจัด หรือ ไปงานเลี้ยงมาก่อนสัก 12-24 ชั่วโมง) ปวดตลอดเวลา ร้าวไปที่หลัง เวลานอนหงาย เคลื่อนไหว จะทำให้ปวดมากขึ้น แต่จะรู้สึกสบายเวลานั่งโก้งโค้ง มักมีไข้ คลื่นไส้ - เรียน รายที่เป็นรุนแรง อาจอ่อนเพลียมาก มีจ้ำเขียวที่หน้าท้อง หรือรอบสะดือ มีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ํา มือเท้าเกร็ง และอาจช็อค กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น
-
สิ่งตรวจพบ: ไข้ หน้าท้องกดเจ็บ (ไม่มีท้องแข็ง) อาจมีท้องอืด Bowel Sound ลดลง อาจมีช็อค (ชีพจรเบาเร็ว ความดันตก) หรือดีซ่าน
-
อาการร่วม
1. ช็อค ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ํา ให้ส่งต่อทันที โดยให้การรักษาเบื้องต้น
แนวทางการรักษาจะเน้นเรื่องการดูแลภาวะฉุกเฉิน (ABCs) โดยแนะนำให้ งดน้ํางดอาหาร และพิจารณาให้สารน้ําทางหลอดเลือดดำได้ แก่ อาการปวดท้องรุนแรง ปวดติดต่อกันนานเกิน 6 ชั่วโมง หรือปวดท้องคลอด หรือแท้งบุตร อาเจียนรุนแรง หรือ อาเจียนเป็นเลือด มีประวัติได้รับบาดเจ็บที่ท้อง เวลาเคลื่อนไหวกระทบกระเทือนถูก จะรู้สึกเจ็บมาก หรือใช้มือกดหน้าท้องจะเจ็บมาก ปวดบริเวณลิ้นปี ลักษณะเจ็บจุกแน่น ร้าวขึ้นไปขากรรไกร คอ หรือแขน เป็นเวลาครั้งละ 3-5 นาที และในรายที่มีประวัติ ผ่าตัดในช่องท้อง และ/หรือไม่ผายลม
2.มีใข้ หนาวสั่น หรือใช้เกิน 7 วัน อาการซีด ถ่ายด า ดีซ่าน และปัสสาวะ เป็นเลือด แนวทางการรักษาควรจะส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมภายใน 24 ชั่วโมง นอกจากนี้ต้องวัดสัญญาณชีพประเมินอาการปวดท้องพิจารณาให้สารน้ําทางหลอดเลือด ด า และให้การรักษาตามความจำเป็น
3. ปวดท้องบิดเกร็งเป็นพักๆ
อาการ: ถ่ายอุจจาระบ่อยเป็นประจ าทุกวัน หรือเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง มักถ่ายเป็นก้อนเหมือนปกติหลังตื่นนอนตอนเช้าครั้งหนึ่งก่อน แล้วหลังอาหารเช้า จะมี ปวดบิดในท้องทันที ต้องถ่ายซึ่งมักจะถ่ายเหลว/น้ า และอาจจะถ่ายเหลวอีกหลายครั้ง โดยเฉพาะหลังอาหารแต่ละมื้อบางครั้งอาจมีมูกปน แต่ไม่มีเลือด/หนอง
-
การรักษา: 1. แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังเป็นประจำฝึกสมาธิ หรือหาทางผ่อนคลาย หรืออาหารที่กระตุ้น ความเครียดด้วยวิธีต่างๆ หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดหรืออาหารที่ทำให้มีอาการ งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ชา หรือกาแฟ
- ถ้ามีอาการปวดท้องและถ่ายบ่อย ให้ยาแก้ท้องเดิน เช่น Loperramide หรือAntispasmodic ก่อนอาหาร 30-60 นาที หรือเวลามีอาการ ถ้ามีอาการไม่มากหรือพอทนได้ ก็ไม่ต้องรับประทานยา
- ถ้ามีอาการท้องผูก ให้ยาระบาย
- ถ้ามีอาการคิดมาก กังวลใจ นอนไม่หลับ ให้ยากล่อมประสาท เช่น Diazepam หรือยาแก้ซึมเศร้า เช่น Amitriptyline
- ถ้ามีอาการเบื่ออาหาร น้ําหนักลด ถ่ายเป็นเลือด หรือเริ่มเป็น ครั้งแรก เมื่อมีอายุ 40ปีขึ้นไป หรือสงสัยจะเกิดจากสาเหตุอื่น ควรแนะนำไปตรวจที่โรงพยาบาล
อาการ: มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน ปากแห้ง คอแห้ง เจ็บในล าคอ ปวดบิดในท้อง ท้องเดินในรายที่เป็น มากพิษของมันจะท าลายระบบประสาท ท าให้ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อนสองภาพ หนังตาตก รูม่านตา ขยาย และไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง กลืนน้ําลายไม่ได้ น้ําลายฟูมปากพูดอ้อแอ้ แขนขาอ่อนแรง และหายใจไม่ได้ เนื่องจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาตและอาจเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง
-
-
-
อาการ: มีไข้ หนาวสั่น ปวดบิดในท้อง ถ่ายเป็นน้ํา คลื่นไส้อาเจียนเล็กน้อย บางครั้งมีมูกเลือดปน อาการจะค่อยๆ หายในภายใน 2 - 5 วัน บางคนอาจเรื้อรังถึง 10 - 14 วัน
สิ่งตรวจพบ: ไข้ อาจมีภาวะขาดน้ํา อาการแทรกซ้อนภาวะขาดน้ํารุนแรงการรักษา: ถ้าอาการไม่รุนแรง ให้การรักษาแบบอาการท้องเดินทั่วไป ให้สารละลายน้ำตาลเกลือแร่ ยาลดไข้ถ้าอาการรุนแรง หรือมีภาวะขาดน้ํารุนแรง ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อให้น้ าเกลือทางหลอดเลือดด า และควรส่งอุจจาระตรวจหาเชื้อ อาจมีสาเหตุจากเชื้อชนิดอื่นได้
-
สิ่งตรวจพบ: ไข้ อาจมีภาวะขาดน้ำ
การรักษา: 1. ถ้าอาการไม่รุนแรง ให้สารละลายน้ําตาลเกลือแร่ และให้ยาลดไข้กรณีมีไข้
- ถ้าอาการรุนแรง หรือมีภาวะขาดน้ำรุนแรง ควรส่งโรงพยาบาล
อาการ: เกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยคลื่นไส้ อาเจียน ปวดบิดในท้องเป็นพักๆ ถ่ายเป็นน้ํา มีไข้สูงหนาวสั่น ปวดเมื่อย
-
อาการ: เกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยคลื่นไส้ อาเจียน ปวดบิดในท้องเป็นพักๆ ถ่ายเป็นน้ํา มีไข้สูงหนาวสั่น ปวดเมื่อยไข้ อาการจะค่อยๆ หายเอง ภายใน 1-2 วัน
สิ่งตรวจพบ: ไข้ อาจมีภาวะขาดน้ํา อาการแทรกซ้อนภาวะขาดน้ํารุนแรงการรักษา: ถ้าอาการไม่รุนแรง ให้การรักษาแบบอาการท้องเดินทั่วไป ให้สารละลายน้ าตาลเกลือแร่ ยา ลดไข้ถ้าอาการรุนแรง หรือมีภาวะขาดน้ํารุนแรง ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อให้น้ าเกลือทางหลอดเลือดด า และควรส่งอุจจาระตรวจหาเชื้อ อาจมีสาเหตุจากเชื้อชนิดอื่นได้
อาการ: เกิดขึ้นทันทีทันใดด้วยอาการท้องร่วงอย่างรุนแรง อุจจาระไหลพุ่ง ไม่ปวดท้อง มีอาเจียน โดยที่ไม่คลื่นไส้ อุจจาระเหมือนน้ําซาวข้าว รายที่เป็นรุนแรงจะมี อาการขาดน้ํารุนแรง และช็อคอย่างรวดเร็ว จะมีเสียงแหบแห้ง เป็นตะคริว ตัวเย็น เหงื่อออก ปัสสาวะออกน้อย ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ํา รักษาไม่ทันอาจเสียชีวิตได้ ในรายที่เกิดจากเชื้อเอลทอร์ จะปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลวบ่อยครั้งคล้าย ท้องเดินหายเองใน 1-5วัน
-
-
การรักษา: หากสงสัยว่าเป็นอหิวาต์ ในรายที่อาการไม่รุนแรงเก็บอุจจาระส่งเพาะเชื้อ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้ยาปฏิชีวนะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น
Tetracycline (500 mg) 1x4 p.o pc 3 วัน
Doxycycline(100 mg) 1x2 p.o. pc 3 วัน
Norfloxacin 400 mg bid pc 3 วัน
Cotrimoxazole 1 gm. ครั้งเดียว
Erythromycin 250mg. qid p.c. 3 วัน
ในรายที่อาการรุนแรง เช่น ถ่ายเป็นน้ ารุนแรง อาเจียน มีภาวขาดน้ ารุนแรง กินไม่ได้ ให้ IVfluid และส่งต่อโรงพยาบาล
-
อาการ: ถ่ายอุจจาระเหลวๆ มีเนื้อปน ปวดท้อง ปวดเบ่งที่ก้นไม่มีไข้ ต่อมาถ่ายเป็นมูกเลือดทีละน้อย ไม่มีเนื้อปน กลิ่นเหม็นเหมือนหัวกุ้งเน่า ถ่ายกะปริบ กะปรอยวันละหลายครั้ง บางรายอาจถึง 20-50 ครั้ง แต่จะไม่อ่อนเพลีย และท างานได้ ตามปกติ
-
-
การรักษา: ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น
Metronidazole 750 mg. tid pc 10 วัน
เด็ก Metronidazole 35-50 mg./kg. แบ่งให้ 3 ครั้ง 10 วัน
ถ้ามีอาการปวด และกดเจ็บบริเวณชายโครงขวาอย่างมาก หรือสงสัย จะเป็นโรคฝีในตับ ควรส่งไปโรงพยาบาลโดยเร็ว
อาการ: ค่อยเป็นค่อยไป เริ่มแรกจะมีไข้ต่ําๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว ปวด เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย คล้ายไข้หวัด หรือไข้หวัดใหญ่ แต่ไม่มีน้ํามูก อาจมีเลือดก าเดา ออก บางครั้งอาจไอ เจ็บคอเล็กน้อย มักมีท้องผูก/ถ่ายเหลวเสมออาจมีคลื่นไส้อาเจียน ปวดแน่นท้อง ท้องอืด และกดเจ็บเล็กน้อย ต่อมาไข้จะค่อยๆ สูงขึ้นทุกวัน และมีไข้ตลอดเวลา ถึงแม้จะกินยาลดไข้ก็อาจไม่ลด ทุกครั้งที่มีไข้จะรู้สึกปวดศีรษะมาก อาการไข้มักจะเรื้อรัง ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีไข้สูงอยู่นาน 3 สัปดาห์ แล้วค่อยๆ เป็นปกติเมื่อพ้น 4 สัปดาห์ บางรายอาจเป็นไข้อยู่นาน6 สัปดาห์ บางรายอาจมีอาจหนาวสะท้านเป็นพักๆ เพ้อ หรือปวดท้องรุนแรงคล้ายเสตงอกเสบ หรือถุงน้ําดีอักเสบ ผู้ป่วยจะซึม และเบื่ออาหารมาก ถ้ามีอาการมากกว่า 5 วัน ผู้ป่วยจะดูหน้าซีดเซียว แต่เปลือกตาไม่ซีด
สิ่งตรวจพบ: ไข้ 38.5-40 องศาเซลเซียส หน้าซีดเซียว เปลือกตาไม่ซีด ฝ่ามือซีด ริมฝีปากแห้ง อาจมีท้องอืดกดเจ็บใต้ชายโครงขวา หรือท้องน้อยข้างขวา ตับ ม้ามอาจโต อาจพบจุดแดงคล้ายยุงกัด เมื่อดึงหนังให้ตึงจะจางหาย เรียกว่า Rose Spots ที่หน้าอก หรือหน้าท้อง ซึ่งมักจะขึ้นหลังไข้ 5 วัน และขึ้นนาน 3-4 วัน ในบางราย อาจมีอาการ ดีซ่าน หรือซีด (หากเป็นเรื้อรัง)
-
การรักษา: หากสงสัยควรส่งตรวจเพิ่มเติมด้วยการตรวจเลือดทำการจ านวนเม็ดเลือดขาวทดสอบไวดาล (Widal test) ตรวจนับน าเลือด อุจจาระ และปัสสาวะไปเพาะหาเชื้อ
-ให้ยาลดไข้-เช็ดตัว ลดไข้เมื่อมีไข้
-ให้ยาปฏิชีวนะ:
Amoycillin (500 mg.) 1 tab id pc 14 วัน
Cotrimoxazone 2 tab bid pc. 14 วัน
Multivitamin แนะนำให้ผู้ป่วยกินอาหารอ่อน ดื่มน้ำมากๆรายที่สงสัยว่ามี อาการแทรกซ้อน ควรส่งโรงพยาบาล
-
อาการ นิ่วในถุงน้ำดี:ผู้ที่เป็นส่วนใหญ่ (มากกว่า 50%) ไม่มี อาการ จะไม่มีอาการผิดปกติแสดงให้เห็นแต่อย่างใด จะตรวจพบได้โดยบังเอิญจากการ ตรวจร่างกายประจ าปี บางรายอาจมีอาการท้องอืด(Dyspepsia) ท้องเฟ้อบริเวณ เหนือสะดือ เรอ คลื่นไส้ อาเจียน คล้ายอาการของอาหารไม่ย่อย ซึ่งมักจะเป็นหลังรับประทานอาการส่งตรวจพบ:นิ่วในถุงน้ าดี: การตรวจร่างกาย มักไม่พบสิ่งผิดปกติ มักไม่มีไข้ บางครั้งอาจ ตรวจพบอาการกดเจ็บเล็กน้อยบริเวณใต้ลิ้นปี และใต้ชายโครงขวา มี Murphy sign positive บางคนอาจมีอาการตาเหลืองร่วมด้วย
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน: จะมีอาการปวดท้องบริเวณชายโครงขวามากขึ้น และมีการตรวจพบการกดเจ็บถุงน้ าดีอักเสบ จะมีอาการไข้ และกดเจ็บมากเป็นบริเวณกว้างที่ใต้ชายโครง ขวา มี Murphy signpositive อาจมีตาเหลืองร่วมด้วย
การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น ถ้ามีอาการปวดท้องที่สงสัยว่าเป็นนิวในถุงน้ าดี ควรแนะน าให้ไปตรวจที่ โรงพยาบาลเพื่อท าการตรวจพิเศษให้การรักษาตามอาการ เช่น ถ้ามีอาการท้องอืดเฟ้อ ให้รับประทาน ลดกรด หรือยาแก้ท้องอืดให้การรักษาตามอาการ เช่น ถ้ามีอาการท้องอืดเฟ้อ ให้รับประทาน ลดกรด หรือยาแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ถ้ามีอาการปวดบิดเป็นพักๆ ให้ยากลุ่ม Antiplasmodic และแนะนำให้ผู้ป่วยงดรับประทานอาหารมัน
-
อาการ:ระยะแรก อาจไม่มีอาการผิดปกติชัดเจน อาจพบอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ คล้ายอาหารไม่ย่อย มาเป็นปี มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียนเป็นบางครั้ง น้ าหนักลด เท้าบวม อาจเจ็บบริเวณชายโครงขวา ตาเหลือง คันตามผิวหนัง ความรู้สึกทางเพศลดลงในผู้หญิงอาจพบประจ าเดือนขาดหรือมาไม่สม่ าเสมอ มีหนวดขึ้น หรือมีเสียงแหบแห้งคล้ายผู้ชายในผู้ชายรู้สึกว่านมโตและเจ็บ อัณฑะฝ่อตัว บางรายอาจสังเกตเห็นฝ่ามือ จุดแดงที่หน้าอกและหน้าท้อง
ระยะท้ายของโรค (หลังเป็นอยู่หลายปี หรือยังดื่มสุราจัด) จะมีภาวะ เท้าบวม เส้นเลือดขอดที่ขาเส้นเลือดของที่หน้าท้อง อาจอาเจียนเป็นเลือด เนื่องจากเส้นเลือดที่หลอดอาหารขอดแล้วแตก ซึ่งอาจช็อคและเสียชีวิตได้
การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น:หากสงสัยว่าเป็นโรคนี้ ควรส่งโรงพยาบาล เพื่อตรวจเลือดประเมิน การทำงานของตับและหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและซี อัลตราซาวนด์ หรือเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ หรือเจาะเอาเนื้อตับไปพิสูจน์หากทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคตับแข็งระยะเริ่มแรก ให้รักษาตามอาการ แนะนำให้งดสุราโดยเด็ดขาด และหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่อาจมีผลกระทบต่อตับ หรือการซื้อยารับประทานเองถ้ามีอาการบวม หรือท้องมานให้ส่งโรงพยาบาลเพื่อรับยาขับปัสสาวะหากผู้ป่วยมีอาการอาเจียนเป็นเลือด ซึม เพ้อ ไม่ค่อยรู้ตัว มีเลือดออกตาม ที่ต่างๆ ควรรีบส่งโรงพยาบาลทันที