Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐาน น้ำหนักบรรรทุก และวิธีการออกแบบ - Coggle Diagram
มาตรฐาน น้ำหนักบรรรทุก และวิธีการออกแบบ
ข้อกำหนดการออกแบบ
ข้อกำหนดการออกแบบจะถูกจัดทำขึ้นโดยองค์กรวิชาชีพต่างๆเพื่อเป็นแนวทางการออกแบบแก่วิศวกรผู้ออกแบบโดยพัฒนาขึ้นจากผลงานวิจัยทางวิศวกรรมที่ได้รับการยอมรับวิธีการออกแบบที่แนะนำในข้อกำหนดนั้นเป็นวิธีที่องค์กรเชื่อว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัยประหยัดและเหมาะสมที่สุดในการใช้งานข้อกำหนดจะมีการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อ
ข้อบัญญัติควบคุมอาคาร
ข้อบัญญัติควบคุมอาคารจะต่างจากข้อกำหนดการออกแบบโดยจะครอบคลุมในหลาย ๆ ด้านของโครงการอาทิเช่นน้ำหนักบรรทุกออกแบบข้อ จำกัด การใช้งานรูปแบบอาคารบันไดหนีไฟข้อบัญญัติควบคุมอาคารจะถูกกำหนดขึ้นและบังคับใช้โดยเทศบาลและรัฐบาลในแต่ละท้องถิ่นที่คำนึงถึงความปลอดภัยในการก่อสร้างได้กำหนดมาตรฐานขึ้นเพื่อใช้ควบคุมการก่อสร้างในเขตรับผิดชอบของตนดังนั้นผู้ออกแบบจะต้องปฏิบัติตามในการออกแบบอาคารสำหรับประเทศไทยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารจะกำหนดไว้ใน
น้ำหนักบรรทุก
บรรทุกบางทีงานที่ยากที่สุดในการออกแบบโครงสร้างก็คือการประมาณน้ำหนักบรรทุกที่อาจเกิดขึ้นกับโครงสร้างตลอดอายุการใช้งานของมันอย่างถูกต้องนั่นเองในทุกข้อบัญญัติควบคุมอาคารจะมีบทที่กำหนดน้ำหนักบรรทุกน้อยที่สุดในการออกแบบและน้ำหนักร่วมกระทำบนโครงสร้างทั้งนี้ก็เพื่อให้แน่ใจว่าภายใต้สภาวะปกติโครงสร้างจะอยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและใช้งานได้
น้ำหนักบรรทุกคงที่
น้ำหนักบรรทุกคงที่น้ำหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load) คือน้ำหนักบรรทุกที่มีขนาดคงที่ซึ่งคงอยู่ประจำตำแหน่งหนึ่ง ๆ ประกอบด้วยน้ำหนักของตัวโครงสร้างเองและน้ำหนักอื่นที่ติดตั้งอย่างถาวรเข้ากับตัวอาคารสำหรับอาคารเหล็กน้ำหนักคงที่จะ ได้แก่ โครงเหล็กผนังพื้นหลังคาท่อปะปาและสุขภัณฑ์
น้ำหนักบรรทุกจร
น้ำหนักที่เปลี่ยนแปลงตามขนาดและตำแหน่ง
การถ่ายน้ำหนักและน้ำหนักบรรทุกในชั้น
การถ่ายน้ำหนักระหว่างองค์อาคารในโครงสร้างเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอันดับแรกที่วิศวกรผู้ออกแบบโครงสร้างจะต้องตัดสินใจและมีความเข้าใจอย่างชัดเจนถึงเส้นทางการถ่ายเทน้ำหนักบรรทุกตั้งแต่จุดเริ่มต้นถ่ายผ่านส่วนประกอบต่างๆบางครั้งถูกกระจายออกบางครั้งถูกรวมกันเข้าจนสุดท้ายจะผ่านไปทั่วทั้งโครงสร้างลงสู่ฐานรากและพื้นดินที่รองรับ
การออกแบบโดยใช้ตัวคูณน้ำหนักและความต้านทาน
คำนวณกำลังประลัยและความสามารถในการใช้งานให้ปลอดภัย
ส่วนปลอดภัย
ค่าอัตราส่วนระหว่างกำลังขององค์อาคารต่อค่า
หน่วยแรงมากที่สุดที่จะเกิดขึ้นกับมัน
การวิบัติของโครงสร้าง
การผู้ออกแบบที่ยังมีประสบการณ์น้อยจำเป็นที่จะต้องรู้ว่าควรจะให้ความสนใจในจุดใดและจะหาคำแนะนำจากภายนอกได้จากที่ไหนนักออกแบบส่วนใหญ่ทั้งที่มีและไม่มีประสบการณ์เลือกองค์อาคารที่มีขนาดและกำลังเพียงพอการพังทลายของโครงสร้างส่วนใหญ่มักเกิดจากการไม่ให้ความสนใจอย่างเพียงพอในรายละเอียดของจุดต่อเชื่อมการโก่งแอ่นการติดตั้งและการทรุดตัวของฐานรากเหล็กมักไม่พังจากความผิดปกติในเนื้อวัสดุ แต่มักจะวิบัติจากการใช้งานที่ไม่ถูกต้อง
นิยามของการออกแบบอีลาสติกและพลาสติก
การถ่ายน้ำหนักระหว่างองค์อาคารในโครงสร้างเป็นสิ่งที่สำคัญเป็นอันดับแรกที่วิศวกรผู้ออกแบบโครงสร้างจะต้องตัดสินใจและมีความเข้าใจอย่างชัดเจนถึงเส้นทางการถ่ายเทน้ำหนักบรรทุกตั้งแต่จุดเริ่มต้นถ่ายผ่านส่วนประกอบต่างๆบางครั้งถูกกระจายออกบางครั้งถูกรวมกันเข้าจนสุดท้ายจะผ่านไปทั่วทั้งโครงสร้างลงสู่ฐานรากและพื้นดินที่รองรับ