Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ความหมาย
โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ
โรคหรือความเจ็บป่วยต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้ปฎิบัติงานที่สัมผัสกับงาน
หรืออยู่ในบรรยากาศของการทำงานที่เป็นพิษภัย
ทำให้สุขภาพอนามัยเสื่อมโทรมจนเจ็บป่วยเป็นโรคหรือพิการ
การเจ็บป่วย
การที่ลูกจ้างผู้ที่อยู่ในบรรยากาศของการทำงานเกิดอาการเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตาย
เนื่องจากทำงานให้แก่นายจ้าง
สถานการณ์
ในต่างประเทศ
โรคมินามาตะ
ประเทศญี่ปุ่น
โรคอิไตอิไต
เกิดจากสารแคดเมียม
โรคพิษจากแอสเบสตอสและโรคมะเร็งปอด
อิรัก
โรคมะเร็งเม็ดเลือด
ในยุโรป จีน สหรัฐอเมริกา
โรคพิษฝนเหลือง
เวียดนาม
ในประเทศไทย
โรคพิษของแอสเบสตอส
โรคมะเร็งปอด
อุตสาหกรรมเกี่ยวกับแร่หิน
ความผิดปกติในระดับโคโมโซม
อุสาหกรรมผลิตรองเท้าซึ่งใช้สารเบนซิน
โรคพิษแมงกานีส
ทำงานผลิตถ่านไฟฉาย
ปัจจัยสาเหตุ
ต้นเหตุของโรค
ทางเคมี
ชีวภาพ
ทางกายภาพ
จิตวิทยาสังคม
ตัวผู้ประกอบอาชีพ
เพศ อายุ สภาวะสุขภาพ
ระยะเวลาในการทำงานแต่ละวัน
ระยะเวลาที่ผู้ประกอบอาชีพได้ปฎิบัติงาน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
ความไวต่อการแพ้พิษหรือการเกิดโรคแต่ละคนแตกต่างกัน
สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม
ขาดการเอาใจใส่เรื่องความปลอดภัยในการทำงาน
ทัศนคติที่ไม่ถูกต้องในการป้องกันโรค
นายจ้างขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องสุขภาพ
เศรษฐกิจทำให้คนต้องทำงานล่วงเวลาเพิ่มมากขึ้น
สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
แอสเบสตอส ถ่านหิน โครเมียม
ไวนิลคลอไรด์ เบนซีน เบนซิดีน
รังสีแตกตัว น้ำมันดิน ไอควันจากถ่านหิน
ฝุ่นไม้ สารประกอบของนิกเกิล
ไอควันจากเผาไหม้
สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมภายใน
ความไม่สมดุลทางฮอร์โมนของร่างกาย
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
กรรมพันธ์ุ
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะเครียด
การระคายเคืองที่เกิดซ้ำๆเป็นเวลานาน
ความผิดปกติที่เกิดขึ้น
ระบบย่อยอาหาร
ระบบเลือด
ระบบกล้ามเนื้อ
ท่อปัสสาวะ
ผิวหนัง
ระบบประสาท
ระบบทางเดินหายใจ
หลักการควบคุมป้องกัน
2.การควบคุมป้องกันด้านตัวบุคคล
3.การบริหารจัดการ
1.ควบคุมและป้องกันที่สิ่งแวดล้อม ยึดทฤษฎี 5ส
โรคจากการประกอบอาชีพจากสารเคมีต่างๆ
โรคจากพิษของสารตะกั่ว
ปวดศีรษะ มึนงง เบื่ออาหาร ตาพร่า
โรคจากพิษของสารปรอท
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหงือกและปากอักเสบ
โรคจากพิษของสารหนู
อ่อนเพลีย อาเจียน ตับถูกทำลาย ถ่ายมีเลือดปน
โรคจากพิษของสังกะสี
ไข้ คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย กระหายน้ำ
โรคจากพิษของแมงกานีส
ไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดเมื่อยลำตัว ปอดอักเสบ
โรคจากพิษของแคดเมียม
คลื่นไส้ คอแห้ง ไข้สูง แน่นหน้าอก ปวดตามข้อ
โรคจากพิษของโครเมียม
เป็นแผลลึก ไม่รู้สึกเจ็บปวด ผนังกั้นรูจมูกทะลุ ลำไส้ใหญ่อักเสบ
โรคจากพิษของฟอสฟอรัส
ตับ ไต ลำไส้ถูกทำลาย อาเจียนเป็นเลือด ตกเลือดภายในเนื้อเยื่อต่างๆ
โรคจากพิษของเบนซิน
เวียนศีรษะ แน่นหน้าอก เดินเซ หมดสติ มือสั่น โลหิตจาง
กลไกการเกิดมะเร็ง
ระยะที่2 ( Promotion )
มีการสะสมการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมของเซลล์
ระยะที่3 ( Transformation )
Pre-malignant Cell มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมกลายเป็นเซลล์มะเร็ง
เรียกระยะนี้ว่า Malignant Cell
ระยะที่1 ( Initiation )
เซลล์มีการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม
ระยะที่4 ( Progression )
เป็นระยะที่เซลล์มะเร็ง
วิธีการควบคุมด้านสุขศาสตร์อุตสาหกรรม
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
เป็นการควบคุมที่ตัวคนทำงาน
การควบคุมทางการบริหารจัดการ
เป็นการควบคุมที่ทางผ่านของสารก่อมะเร็ง
การควบคุมทางวิศวกรรม
เป็นการควบคุมที่แหล่งกำเนิดของสารก่อมะเร็ง