Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of Kidney and Urinary bladder system🥂👩🏻⚕️🤧, image, image,…
Pathology of Kidney and Urinary
bladder system🥂👩🏻⚕️🤧
Function of urinary system
กรองและขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
ช่วยกาจัดสารพิษในร่างกาย
ผลิต active vitamin D เพื่อช่วยในการดูดซึม Ca2+ ที่ผนังลำไส้เล็ก
Hematuria
😱
ปัสสาวะเป็นเลือด คือ การมีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/ml อาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ
สาเหตุ :!:
มีการบาดเจ็บที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
การอักเสบ
มะเร็งในระบบทางเดินปัสสาวะ
การตายของ basement membrane ของ glomerulus ทำให้ RBC ถูกกรองผ่านมาทางปัสสาวะได้
เลือดที่ออกจะมีความสัมพันธ์กับตำแหน่งพยาธิสภาพ เช่น
เลือดออกเมื่อถ่ายปัสสาวะตอนแรก: Urethra ส่วนหน้า
เลือดออกชัดตลอดการถ่ายปัสสาวะ: Kidney, Ureter
Proteinuria
😱
ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน โดยปกติสามารถตรวจพบโปรตีนได้ ประมาณวันละ 40-80 mg
Transient proteinuria การพบโปรตีนในปัสสาวะชั่วคราว
Persistent proteinuria การพบโปรตีนในปัสสาวะทุกครั้งที่มีการตรวจปัสสาวะ
สาเหตุ :!:
ระดับโปรตีนในพลาสมามาก
: โปรตีนจะผ่านการกรองของ
โกลเมอรูลัสได้มาก จนเกินกำลังของหลอดเลือดฝอยส่วนต้นที่จะดูดกลับได้หมด
โปรตีนผ่านโกลเมอรูลัสเพิ่มขึ้น
: จากกระแสเลือดสามารถกรองผ่าน Glomerulus เพิ่มขึ้น เกิดเป็นช่องที่ใหญ่ขึ้นร่วมกับเซลล์เยื่อบุในหลอดเลือดบวมหรือถูกทำลาย
ลดการดูดกลับที่หลอดเลือดฝอยไต
: เกิดจากการขาดเลือดมาหล่อเลี้ยงไต
Pathophysiology
ปริมาณเลือดลดลงเซลล์หลอดเลือดฝอยส่วนต้นต้องอาศัยออกซิเจนและสารอาหารจากเลือด เพื่อสร้างพลังงานในการดึงโปรตีนจากสารที่ผ่านการกรองกลับสู่ร่างกายทางานได้ลดลง
Hypernatremia
🤯
ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดเกินค่ามาตรฐาน (Normal 135-145 mmol/L )
สาเหตุ :!:
รับประทาน Na2+ เกิน
ขาดน้ำ (dehydration)
สูญเสียน้ำ
ผลกระทบ :explode:
ให้เลือดที่ไหลเวียนผ่านไตมีความเข้มข้นสูง ไตจึงสร้างปัสสาวะมากขึ้น จากการเพิ่มความเข้มข้นของปัสสาวะจึงมักแสดงอาการขาดน้ำ
Hyponatremia
🤯
ที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดต่ากว่าค่ามาตรฐาน (Normal 135-145 mmol/L )
สาเหตุ :!:จากความผิดปกติที่ไตขับน้ำออกจากร่างกายลดลง
มีการเพิ่มการสร้างและหลั่ง ADH
ลดการดูดซึมโซเดียมและคลอไรด์ ที่ thick ascending limb of Henle’s loop ทำให้ collecting ductดูดน้ำกลับภายใต้อิทธิพล ADH ลดลง
ภาวะไตวาย ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำทาให้เกินอาการน้ำเกิน
Hyperkalemia
🤯
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน (Normal 3.5-5.0 mmol/l)
สาเหตุ :!:
ลด RBF หลอดเลือดฝอยส่วนต้นและห่วง Henle’s loop จึงปรับตัวดูดซึม Na2+ กลับมากขึ้น ทำให้ปริมาณสารที่ถูกกรองผ่านทางหลอดฝอยไตรวมบริเวณผิวไตด้านนอก
ความบกพร่องของระบบ RAAS ทำให้มีระดับ K+ เลือดสูงขึ้น
ความผิดปกติของหลอดเลือดฝอยในไตรวมบริเวณผิวนอกของไต
ภาวะไตวาย
Hypokalemia
🤯
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดต่ำเกินเกณฑ์มาตรฐาน
สาเหตุ :!:
การเพิ่มการทำงานของระบบ RAAS
ปริมาณ HCO-3 ในปัสสาวะเพิ่มขึ้น จึงมีผลให้ไตขับ K+ ออกจากร่างกายเพิ่มขึ้น
ภาวะ Mg 2+ ในเลือดต่ำกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตหลั่งaldosterone เพิ่มขึ้น
ภาวะ Ca2+ ในเลือดสูง ทำให้เกิดการทาลายเซลล์เยื่อบุหลอดฝอยได้
Uremia
🤯
อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร อันได้แก่ Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิง Urea อาการเป็นพิษดังกล่าวมักเป็นผลสืบเนื่องมาจากการป่วยเป็นโรคไต ในขั้นร้ายแรง ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับ Urea ออกได้
ส่งผล :explode:
มีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้
อาเจียน ปวดศีรษะ กระสับกระส่าย กล้ามเนื้อกระตุก และอาจชักหมดสติได้
Kidney failure
🤯
ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารออกจากกระแสเลือด จึงส่งผลให้เกิดการสูญเสียความสมดุลของสารน้า electrolytes และกรดด่าง
ไตวายแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ
ไตล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute renal failure) (ARF) :red_flag:
ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใด ทำให้มีการคั่งของของเสียในร่างกาย
อาการแสดง :question:
ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย
บวมที่ขาและเท้า
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
ถ้าอาการรุนแรง → ชัก
การรักษา 💊
รักษาตามสาเหตุ ร่วมกับ การฟอกไต
ภาวะแทรกซ้อน :fire:
ภาวะน้าท่วมปอด
ทำให้เกิดของเหลวส่วนเกินภายในร่างกายล้นเข้า
ไปในช่องเยื่อหุ้มปอดทำให้หายใจล้าบาก และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
เจ็บหน้าอก
ของเสียจะคั่งอยู่ในกระแสเลือด หากของเสียเหล่านั้นเข้าสู่หัวใจ อาจทำให้เกิดภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจนท้าให้รู้สึกเจ็บหน้าอกได้
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หากร่างกายมี K+ สะสมในเลือดมากเกินไป อาจ
กระทบต่อการทางานของกล้ามเนื้อทุกส่วน โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ และส่งผลให้หัวใจหยุดเต้นได้
ไตถูกท้าลายอย่างถาวร
ถ้าได้รับการรักษาที่ ล่าช้าก็
จะทำให้ไตถูกทาลายอย่างถาวรและกลายเป็นไตวายเรื้อรังได้
ไตล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic renal failure) (CRF) :red_flag:
ภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่อย่างช้าๆ และเป็นไปอย่างถาวร มีการทาลายเนื้อไตติดต่อกันเป็นเวลานานไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้
สาเหตุ :!:
การอักเสบที่ไตอย่างเรื้อรัง กรวยไตอักเสบ การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ
โรคของระบบอื่นที่มีผลต่อไต เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ผลจากยา สารพิษ เช่น ยาฆ่าแมลง เห็ดพิษ หรือภาวะติดเชื้อ
อาการแสดง :question: เป็นระยะ
แบ่งออกเป็น 5 ระยะ
ระยะที่ 1 ไม่มีอาการแสดงให้เห็นชัดเจน แต่สามารถ
ทราบได้ ด้วยวิธีการตรวจทางพยาธิวิทยา
ระยะที่ 2 ยังไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็นนอกจาก การตรวจค่าการทางานของไตเช่นเดียวกัน
ระยะที่ 3 ในระยะนี้ ไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็น ค่าการทำงานของไต 30-59 ml/min
ระยะที่ 4 อาการต่าง ๆ จะแสดงในระยะนี้ มีอาการมึนงง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวแห้งและคัน กล้ามเนื้อเป็น ตะคริวบ่อยขึ้น มีอาการบวมตามข้อ ขา และเท้า ใต้คล้า ปวดปัสสาวะบ่อย
ระยะที่ 5 เป็นระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย นอกจากอาการที่คล้ายกับระยะที่ 4 แล้ว อาจมีภาวะ โลหิตจางที่รุนแรงขึ้น และอาจมีการตรวจพบการเสียสมดุลของแคลเซียม ฟอสเฟตหรือสารต่าง ๆ ที่ อยู่ในเลือด
การรักษา 💊
ไตวายในระยะที่ 1-3 เป็นระยะไม่จาเป็นต้องทาการรักษา แต่จำเป็นที่จะต้องพบแพทย์เพื่อตรวจระบบการทำงานของไต
ไตวายในระยะที่ 4-5 เป็นระยะที่ไตทำงานลดลงอย่างมาก จะต้องใช้การรักษาหลายๆ วิธีร่วมกัน
ภาวะแทรกซ้อน :fire:
โรคหัวใจและหลอดเลือด
โรคโลหิตจาง
โรคกระดูกพรุน
Renal Failure
Hemodialysis
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD)
Renal transplantation
Glucosuria
😱
มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินระดับที่ไตสามารถกรองได้ > 160 mg/dl ในเลือดดำ ทำให้ปริมาณน้ำตาลผ่านการกรองมากเกินกว่าที่หลอดเลือดฝอยไตจะสามารถดูดกลับได้หมด
Ketonuria
😱
ตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ > 20 mg/dl เนื่องจากการเผาผลาญพลังงานจากคาร์โบไฮเดรตในร่างกายไม่สมบูรณ์ จึงเกิดภาวะกรดจากการคั่งของคีโตน (ketoacidosis) :pencil2:
เมื่อปริมาณคีโตนเกินระดับที่ไตสามารถกรองไต →Ketonuria
Polyuria
😱
ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1,500 ml โดยไม่ได้เกิดจากการดื่มน้ำมาก
สาเหตุ :!:
ปัสสาวะมากจากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย
ปัสสาวะมากจากการเพิ่มความเข้มข้นของปัสสาวะ
Oliguria
😱
ภาวะปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (< 20 ml/hr) < 400 ml/day ถ้า < 100 ml/day → “Anuria”
สาเหตุ :!:
ไตวาย
ดื่มน้ำน้อยมาก
Voiding dysfunction
Nocturia อาการที่ตื่นในตอนกลางคืนเพื่อปัสสาวะมากกว่า 1 ครั้ง
Dysuria ปัสสาวะลาบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
Urinary incontinence สภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่: ภาวะที่มีปัสสาวะออกมาจากท่อปัสสาวะโดยไม่สามารถควบคุมได้
การแบ่งประเภทของภาวะปัสสาวะเล็ด
ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง (stress incontinence)
ปัสสาวะเล็ดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ (urgency incontinence)
ปัสสาวะเล็ดตลอดเวลาเนื่องจากมีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะ (overflow incontinece)
ปัสสาวะเล็ดจากภาวะหรือโรคทางกาย ที่ ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (functional incontinence)
Retention of urine การที่มีปัสสาวะคั่งอยู่ใน กระเพาะปัสสาวะ ไม่สามารถทา ให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะ
Other of disease in KUB
Kidney Stones นิ่วในไต
สาเหตุ :!:
เกิดขึ้นได้จากปริมาณของเกลือ และสสารต่าง ๆ มีปริมาณมากเกินกว่า ของเหลวในปัสสาวะจะละลายหรือทำให้เข้มข้นน้อยลงได้ จนเกิดการเกาะตัวเป็น ก้อนนิ่วในที่สุด
Urinary tract infections การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI)
เชื้อแบคทีเรียสามารถเข้าสู่ทางเดินปัสสาวะได้ 3 ทาง
ทางกระแสเลือด (hematogenous route)
ทางน้ำเหลือง (lymphatic route)
แพร่กระจายขึ้นโดยตรง (ascending route)
Horseshoe kidney
การเชื่อมกันของไตสองข้างตั้งแต่กำเนิด โดยมากมักเป็นขั้วล่างเชื่อมกัน
Renal cell carcinoma มะเร็งไต
ปัจจัยเสี่ยง :!:
โลหะหนัก เช่น แคดเมียม, ตะกั่ว
การสูบบุหรี่
กลุ่มโรคบางโรค เช่น von Hippel-Lindau,Tuberous sclerosis
โลหะหนัก เช่น แคดเมียม, ตะกั่ว
Urinary bladder carcinoma มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
สาเหตุ :!:
จากการแบ่งตัวที่ผิดปกติของเซลล์เยื่อบุผนังด้านใน ก่อน
พบเป็นก้อนเนื้องอก
Rhabdomyolysis ภาวะกล้ามเนื้อลายสลาย
สาเหตุ :!:
ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรงกล้ามเนื้อขาดเลือด หรือตาย
การออกกำลังกายที่ต้องออกแรงมาก
การใช้ยาบางชนิดอย่างยากลุ่ม Statin
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบการเผาผลาญอาหาร
ความผิดปกติทางพันธุกรรมของกล้ามเนื้อ