Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศึกษาความรู้และแหล่งความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม …
ศึกษาความรู้และแหล่งความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม
ความรู้
ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุด
การขยายพันธุ์มังคุดที่นิยมปฏิบัติ คือ การเพาะเมล็ดโดยตรง
ควรหลีกเลี่ยงการขาดน้ำในระยะออกดอก เพราะจะทำให้ได้ผลผลิตลดลง
มังคุดเริ่มออกดอกเมื่อปลูกไปได้ประมาณ 7-8 ปี
มังคุดต้องการปุ๋ยโพแทสเซียมเพียงอย่างเดียวในระยะติดผล
ค่า pH ดินที่เหมาะสมในการปลูกมังคุด คือ 6.5 – 7.5
มังคุดมีอายุเก็บเกี่ยว 100 - 120 วันหลังจากดอกบาน
ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่มีสภาพดินที่เป็นดินเหนียวถึงเหนียวจัด
โรคยางไหลในมังคุด เกิดจากเพลี้ยไฟ
ระยะปลูกที่แนะนำในการปลูกมังคุดคือ 8 ถึง 9 x 8 ถึง 9 เมตร
ถ้าสีของมังคุด มีสีม่วงเข้มทั้งผล แสดงว่าเก็บเกี่ยวได้แล้ว
ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม
ระบบเกษตรดีที่เหมาะสม จะสามารถใช้สารเคมีได้แต่ไม่ก่อให้มีการตกค้างในผลผลิต
เกษตรกรที่ไม่ปลูกพืชตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม จะมีความผิดทางกฎหมาย
ข้อกำหนดของระบบเกษตรดีที่เหมาะสม ประกอบด้วย 8 ด้าน
การใช้วัตถุอันตรายทางการเกษตร ต้องใช้ตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ระบบเกษตรดีที่เหมาะสมของมังคุดจะคำนึงถึงปัจจัยด้านสารเคมีเพียงปัจจัยเดียว
ไม่จำเป็นต้องบันทึกข้อมูลการสำรวจศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด
หากปลูกมังคุดตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม จะทำให้เกษตรกรลงทุนการผลิตน้อยลง ได้ผลตอบแทนมากขึ้น
หากเกษตรกรต้องการความรู้เรื่องระบบเกษตรดีที่เหมาะสม สามารถสอบถามได้จากนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรเท่านั้น
ควรมีการเก็บตัวอย่างน้ำอย่างน้อย 1 ครั้งในระยะเริ่มการผลิตมังคุดตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม
การเก็บเกี่ยวผลผลิตมังคุดต้องเก็บเกี่ยวในระยะสายเลือด
แหล่งความรู้
แหล่งความรู้เกี่ยวกับการผลิตมังคุด
ผ่านสื่อกลุ่ม
การประชุม
การฝึกอบรม
การสัมมนา
การศึกษาดูงาน
ผ่านสื่อมวลชน
หนังสือ
วารสาร
เอกสารแผ่นพับ
วิทยุกระจายเสียง/เสียงตามสาย
โทรทัศน์
ผ่านสื่อบุคคล
เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น พัฒนาที่ดิน ชลประทาน สหกรณ์การเกษตร เกษตรและสหกรณ์ เป็นต้น
เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐอื่นๆ
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรสำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ
ผู้นำชุมชน
เจ้าหน้าที่ อบต.
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมบริษัทเอกชน
เกษตรกรต้นแบบในพื้นที่
ผ่านสื่อออนไลน์
เฟซบุ๊ก (Facebook)
ไลน์ (Line)
เว็บไซด์ (Website)
แอพพลิเคชั่น (Application)
แหล่งความรู้เกี่ยวกับระบบเกษตรดีที่เหมาะสม
ผ่านสื่อบุคคล
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรสำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ
เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น พัฒนาที่ดิน ชลประทาน สหกรณ์การเกษตร เกษตรและสหกรณ์ เป็นต้น
เจ้าหน้าที่หน่วยงานรัฐอื่นๆ
ผู้นำชุมชน
เจ้าหน้าที่ อบต.
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมบริษัทเอกชน
เกษตรกรต้นแบบในพื้นที่
ผ่านสื่อกลุ่ม
การฝึกอบรม
การสัมมนา
การประชุม
การศึกษาดูงาน
ผ่านสื่อมวลชน
วารสาร
เอกสารแผ่นพับ
หนังสือ
วิทยุกระจายเสียง/เสียงตามสาย
โทรทัศน์
ผ่านสื่อออนไลน์
เว็บไซด์ (Website)
เฟซบุ๊ก (Facebook)
ไลน์ (Line)
แอพพลิเคชั่น (Application)