Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดของโรคไม่ติดต่อ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดของโรคไม่ติดต่อ
โรคเบาหวาน
สาเหตุ
ปัจจัยทางกรมมพันธ์ุ
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์
ประเทศไทยความชุกของเบาหวานผู้หญิงสูงกว่าผู้ชายเล็กน้อย
ความชุกมีแนวโน้มสูงขึ้นตามอายุที่มากขึ้น
ความชุกสูงสุดที่กลุ่มอายุ 60 ถึง 69ปี
ลักษณะทางคลินิก
ดื่มน้ำบ่อยกว่าปกติและมากกว่าคนธรรมดา
กินจุขึ้น
ปัสสาวะมากกว่าปกติ
เป็นแผลหรือฝีง่ายและหายยาก
คันตามตัว ผิวหนัง และอวัยวะสืบพันธ์ุ
ตาพร่ามัว
มือชา เท้าชา หมดความรู้สึกทางเพศ
มีลูกแรกคลอดน้ำหนักตัวเกินกว่า 4 กิโลกรัม
ภาวะแทรกซ้อน
พยาธิสภาพชนิดนี้เกิดในหลอดเลือดใหญ่
ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท
พยาธิสภาพที่เกิดจากหลอดเลือดเล็กๆ
การวินิจฉัย
2.ตรวจกลูโคสในพลาสมาขณะอดอาหารอย่างน้อย8ชั่วโมง
3.ตรวจกลูโคสในพลาสมาหลังตรวจความทนของกลูโคสภายยหลัง2ชั่วโมง
1.มีอาการของเบาหวาน
การป้องกันและควบคุม
ส่งเสริมและให้ความรู้
มีการเฝ้าระวังและตรวจคัดกรองโรคในชุมชน
ระมัดระวังการติดเชื้อ
การเฝ้าระวังและชะลอภาวะแทรกซ้อน
ออกกำลังกาย ไม่เครียด
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงเกี่ยวกับโภชนาการ
ประเภท
เบาหวานชนิดพึ่งอินสุลิน ( IDDM )
เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ( NIDDM )
โรคหัวใจและหลอดเหลือด
สถานการณ์
เป็นปัญหาการตายอันดับต้นๆของโลก
คนทั่วโลกตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือด 16.7ล้านคนหรือ 29.2% ปี2546
และเพิ่มเป็น 17.5ล้านคนในปี2548
ประมาณ 80%ของการตายอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ต่ำถึงปานกลาง
ประเภทของโรคหัวใจ
โรคหัวใจรูมาติก
โรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
โรคหัวใจเนื่องจากโลหิตจาง
โรคหัวใจเนื่องจากความดันโลหิตสูง
อาการ
ใจสั่น ใจเต้น
อ่อนเพลีย
เป็นลม
ตามัว มักพบร่วมกับโรคความดันสูง
ไอ หรือ ไอเป็นเลือด
บวม
อาการเจ็บอกแองไจน่า
อาการเจ็บหน้าอก
หอบเหนื่อยในท่าราบและจะทุเลาเมื่ออยู่ในท่านั่ง
การตื่นขึ้นหอบเหนื่อยภายหลังนอนหลับ
หอบเหนื่อยเมื่อออกแรง
การวินิจฉัย
2.การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
3.การตรวจภาพเสียงหัวใจและคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ
1.การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
4.การถ่ายภาพรังสีหัวใจและหลอดเลือด
5.การตรวจสวนหัวใจ
6.การตรวจหลอดเลือดโคโรนารี่ด้วยสารทึบแสง
7.การทดสอบสมรรถภาพหัวใจด้วยการออกกำลังกาย
8.การวินิจฉัยโรคหัวใจด้วยวิธีอื่นๆ
การรักษา
แพทย์จะรักษาตามสาเหตุของโรค
การป้องกันและควบคุม
สร้างบริโภคนิสัยที่ดี
ออกกำลังกาย
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
รู้จักวิธีลดความเครียดที่ไม่อันตรายต่อสุขภาพ
ลดหรืองดบริโภคสุราและบุหรี่
โรคมะเร็ง
สถานการณ์
คนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็ง 56058 ราย
เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ในปี 2552และอันดับต้นๆในปัจจุบัน
มะเร็งปาดมดลูกเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในผู้หญิงไทย
สาเหตุ
ปัจจัยเกี่ยวข้องโดยตรง
ระบบภูมิกันของร่างกาย
สิ่งแวดล้อมรวมทั้งสารก่อมะเร็ง
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
การติดเชื้อโรคบางชนิด
ปัจจัยเสริม
สาเหตุเกี่ยวกับตัวของผู้ป่วย
สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
เชื้อโรค
ฮอร์โมน
อาการระยะเริ่มแรก
เป็นตุ่มก้อนๆหรือแผลที่นม ผิวหนัง ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม ลิ้น ส่วนต่างๆของร่างกาย
เป็นแผลเรื้อรัง รักษาไม่หายหรือขนาดของแผลใหญ่ขึ้น
ตกขาวหรือมีเลือดออกทางทวารหนัก ทวารเบา
ท้องอืด เบื่ออาหารและผอมลงมากหรือกลืนลำบาก
เสียงแหบหรือไอโดยที่หาสาเหตุไม่ได้
หูดหรือปานที่โตขึ้นผิดปกติ
มีการเปลี่ยนแปลงการถ่ายอุจจาระหรือฟัสสาวะที่ผิดปกติวิสัย
การวินิจฉัย
3.การตรวจทวารโดยแพทย์
4.การตรวจแปปสเมียร์
2.การตรวจหาเลือดในอุจจาระ
5.การตรวจภายใน
1.การส่องกล้องเพื่อตรวจลำไส้ใหญ่ส่วนล่าง
6.การขูดมดลูกเอาชิ้นเนื้อตรวจ
7.การตรวจเต้านมด้วยตัวเอง
8.การตรวจเต้านมด้วยเอกซเรย์พิเศษ
9.ตรวจสุขภาพและค้นหามะร็ง
การรักษา
ทำให้ผู้ป่วยมีชีวิตที่ดีและยืนยาว
ทำให้ผู้ป่วยโรคมะเร็งมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคมะเร็ง
การป้องกันและควบคุม
2.การดำเนินการด้านการคัดกรองโรค
3.การสนับสนุนการศึกษาฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร
1.การดำเนินการป้องกันขั้นปฐมภูมิ
โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
ปัจจัยด้านกรรมพันธ์ุ
ปัจจัยด้านบุคคล
ลักษณะทางคลินิก
ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง
ความดันโลหิตสูงระดับอ่อนหรือปานกลาง
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนโดยตรง
ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน
การวินิจฉัย
Isolated systolic hypertention
Isolated office hypertension
Hypertension
การป้องกันและควบคุม
การใช้ยาคุมกำเนิดต้องปรึกษาแพทย์
ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่
รับประทานอาหารที่มีคุณภาพโดยการลดอาหารเค็ม อาหารมัน
ลดปริมาณแอลกอฮอร์ งดบุหรี่
เลือกอาหารที่มีเกลือต่ำ
ออกกำลังกาย จัดการความเครียด
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ