Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐานตามแนวทางโรงเรียนพหุ…
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐานตามแนวทางโรงเรียนพหุวัฒนธรรม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว
สำรวจสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาติของผู้เรียน
ศึกษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนที่ได้จากการสำรวจ
กำหนดสัดส่วนสาระของกิจกรรมในแต่ละด้าน
กำหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
การจัดทำรายละเอียดของแต่ละกิจกรรม
ปฏิบัติตามแผน วัดและประเมินผล และสรุปรายงาน
. กิจกรรมนักเรียน
กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด
คำปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้คำมั่นสัญญาว่าจะปฏิบัติตามกฎ
เรียนรู้จากการกระทำ เป็นการพัฒนาส่วนบุคคล
ระบบหมู่ เป็นพื้นฐานในการอยู่ร่วมกัน การยอมรับซึ่งกันและกัน การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกความเป็นหนึ่งเดียวในการเป็นสมาชิกลูกเสือ เนตรนารี
การศึกษาธรรมชาติ
ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรมต่างๆที่จัดให้เด็กทำ
ผู้ใหญ่ชี้แนะหนทางที่ถูกต้องให้แก่เด็กเพื่อให้เขาเกิดความมั่นใจในการที่จะตัดสินใจกระทำ
กิจกรรมชุมนุม
สำรวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมชุมนุม ชมรม
ให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมได้หลากหลายทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
มีครูที่ปรึกษา ชุมนุม ชมรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม
ครูที่ปรึกษากิจกรรมประเมินตามหลักเกณฑ์การประเมินผล
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ
จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม
จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอื่น
แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายกิจกรรม
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อการตัดสิน
การจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
การศึกษาพหุวัฒนธรรมมีรากฐานมาจากปรัชญาในอุดมคติเกี่ยวกับเสรีภาพ ความเสมอภาค ความเป็นธรรม ความยุติธรรม และการให้เกียรติในความเป็นมนุษย์
การศึกษาพหุวัฒนธรรม คือ กระบวนการซึ่งเกิดขึ้นในโรงเรียนและสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึ่งสอดแทรกอยู่ในทุกเนื้อหาวิชาและในส่วนอื่น ๆ ของหลักสูตร
รูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม
บูรณาการเนื้อหาวัฒนธรรมของนักเรียน เข้าไปในวิชาต่างๆ (Content Integration)
. การสร้างความรู้ใหม่ (The Knowledge Construction Process)
การลดอคติ (Prejudice Reduction)
การสอนที่ยึดหลักความยุติธรรม (Equity Pedagogy)
การปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน
(An Empowering School Culture and Social Structure)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับประถมศึกษา
พื้นฐานด้านการอ่านการเขียน
การคิดคำนวณ
การติดต่อสื่อสาร
พื้นฐานความเป็นมนุษย์
กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม
การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์
สมดุลทั้ง ด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม
เน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัด
ความสนใจของตนเอง
ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน
มีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา
มีทักษะในการดำรงชีวิต
ทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
มีความรับผิดชอบต่อสังคม
มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม
มีความภูมิใจในความเป็นไทย
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน
ตอบสนองความสามารถ ความถนัด
ทักษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี
มีทักษะกระบวนการคิดขั้นสูง
นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพ
มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน
สามารถเป็นผู้นำ และผู้ให้บริการชุมชนในด้านต่าง ๆ
แนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน
ศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
เพื่อศึกษาหลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
เพื่อนาเสนอการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม
นางสาวพัชราภรณ์ พลตาล 60206688 สาขาฟิสิกส์