Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่ม
อาการ Abdominal pain,…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่ม
อาการ Abdominal pain, diarrhea syndrome
Abdominal pain
Acute choleycystitis
-
-
-
-
Signs/ Hx : ปวดรุนแรงที่ชายโครงขวา ร้าวไปที่ไหล่ขวาหรือใต้สะบักขวา ปวดมากขึ้นเมื่อไอหรือหายใจลึกๆ, หลังรับประทานอาหารมันๆ อาจมี N/V หรือ ดีซ่านร่วมด้วย
-
-
-
-
diarrhea syndrome
-
Cholera
-
-
-
-
-
-
PE: Severe dehydration, PR เร็ว, BP drop
-
-
Clostridium
PE : มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน ปากแห้ง คอแห้ง เจ็บในลาคอ ปวดบิดในท้อง ท้องเดิน
ในรายที่เป็น มากพิษของมันจะทาลายระบบประสาท ทาให้ตาพร่ามัว เห็นภาพซ้อนสอง ภาพ หนังตาตก รูม่านตา ขยาย และไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง กลืนน้ำลายไม่ได้ น้ำลายฟูมปาก
พูดอ้อแอ้ แขนขาอ่อนแรง และหายใจไม่ได้ เนื่องจากกล้ามเนื้อช่วยหายใจเป็นอัมพาตและอาจเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง
-
Signs/ Hx คลอสตริเดียมบอทูลินัม (Clostridium botulinum) เป็นเชื้อแบคทีเรียที่พบในอาหาร
กระป๋องและอาหารหมักดอง เชื้อจะปล่อยพิษออกมา ทำให้ เกิดอาการหลังกินพิษเข้าไป 8- 36 ชั่วโมง
-
Shigella)
PE:ปวดบิดในท้องก่อน ใน 1 ชั่วโมงต่อมาจะมีไข้ ถ่ายเป็นน้า หาก ถ่ายรุนแรงอาจทาให้อ่อนเพลีย บางรายอาจเพียงถ่ายเหลว ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย คลื่นไส้ อาเจียน ต่อมาอาการท้องเดินจะทุเลาลงแต่จะปวดเบ่งที่ก้น และถ่าย เป็นมูก หรือมีมูกปนเลือดบ่อยครั้ง กลิ่นไม่เหม็นมาก
Rx: ไข้ 38.5-40 ° C อาจพบขาดน้า หรือช็อค ได้แก่ เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่า คลาท้องอาจกดเจ็บเล็กน้อย แต่บางรายอาจ ตรวจไม่พบสิ่งผิดปกติ
Signs/ Hx : เชื้อบิด Shigella ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย แล้วเกิดอาการอักเสบ ของลาไส้ ระยะฟักตัว 1-7 วัน (พบบ่อย 24-48 ชั่วโมง)
-
-
ลักษณะอาการสำคัญของ GI
-
กลุ่มอาการคลื่นไส้ อาเจียน พิจารณาอาการร่วม ได้แก่ อาเจียนเป็นเลือด บวม ซีด ดีว่าน น้ำหนักลด มักเกิดหลังทานยาหรือเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ เป็นเวลาขึ้นรถ ลงเรือ เวลาหิว
กลุ่มอาการท้องเดิน (ท้องร่วง ท้องเสีย อุจจาระร่วง) เฉียบพลัน/เรื้อรัง พิจารณาอาการร่วม ได้แก่ ช็อค ไข้หนาวสั่น ไม่ดีขึ้นใน 7 วัน น้ำหนักลด ถ่ายเป็นน้ำ ถ่ายเหลว อาการแทรกซ้อน Dehydrate Acidosis hypoK HypoNat
-
กลุ่มอาการปวดท้อง
•Somatic pain เกิดจากผนังหน้าท้อง หรืออวัยวะภายในท้อง ลักษณะมักเป็นแบบ
เฉียบพลัน รุนแรง บอกตำแหน่งที่ปวดได้ชัดเจน
•Refer pain ปวดบริเวณที่ไกลจากอวัยวะที่มีพยาธิสภาพ เช่นการอักเสบของถุง
น้ำดี แต่มี referred pain ที่สะบักขวาหรือไหล่ขวา เป็นต้น
• Visceral pain เกิดจากอวัยวะภายในช่องท้อง อาการจะค่อยเป็นค่อยไป มักปวด
หน่วงๆ หรือปวดตื้อๆ(Dull aching)ปวดไม่รุนแรง ระบุตำแหน่งที่ปวดได้ไม่ชัดเจน
จะบอกได้คร่าวๆในแนวเส้นกลางลำตัว เช่น ปวดรอบลิ้นปี่ รอบสะดือ เป็นต้น
กลุ่มอาการนำรอยโรคในช่องปาก พิจารณาอาการร่วม ได้แก่ เหงือกอักเสบ เจ็บ พบแผล ตุ่มใส แผลเปื่อยมุมปาก ปื้นขาวบนลิ้น
-