Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 พลเมืองดิจิทัล👩💻👨💻 - Coggle Diagram
บทที่ 6 พลเมืองดิจิทัล👩💻👨💻
พลเมืองเน็ต📲
ระบบสื่อสารออนไลน์แบบใหม่
เครือข่ายแนวนอน
ทำให้เกิดสื่อสังคมSocial media
คนที่ใช้ไม่จำเป็นต้องมีวิชาชีพ non professional
การสื่อสารเรื่องส่วนตัว การเมือง ธุรกิจ แสดงตัวตัน
เครือข่ายพลเมืองเน็ตกับการสร้างประชาธิปไตย
รับรู้ถึงปัญหา problem
3 หัวข้อนี้ทำให้เกิด การมีส่วนร่วม participants
การถกเถียง discuss
เหตุการณ์ event
ผู้ใช้
บ้าน สถานศึกษา ที่ทำงาน สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
สะท้อนให้เห็นความเป็นประชาธิปไตย
กลายเป็นปัจเจกบุคคลที่ตื่นตัว (Active individual)
กลุ่มผู้กระทำการ ทางสังคมเพื่อประโยชน์สาธารณะได้ ประสบการณ์ของการมีส่วนร่วมต่างๆ เหล่านี้ในโลกออนไลน์ เป็นเสมือน พื้นที่ฝึกผน (Training Ground) เพื่อเรียนรู้ทักษะ ต่างๆและนำไปพัฒนาสังคมและประชาธิปไตยในชีวิตประจำวันให้ดียิ่งขึ้น
แนวคิดของการเป็นพลเมืองดิจิทัล🤳
มิติด้านความรู้เกี่ยวกับสื่อและสารสนเทศ
: :pen:
พลเมือง มีความรู้ ความสามารถ ในการเข้าถึงสื่อและ
ใช้อย่างสร้างสรรค์ ประเมิน สังเคราะห์ และสื่อสารข้อมูลข่าวสารผ่านเครื่องมือดิจิทัลได้อย่างเชี่ยวชาญ
เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต
การคิดวิเคราะห์สื่อ
เช่น ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การเลือก จัดประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเข้าใจข้อมูลข่าวสาร
มิติด้านจริยธรรม
:star:
เป็นพลเมืองดิจิตอลต้องรู้จักจริยธรรมจากการใช้เทคโนโลยี และรู้จักสิทธิ ความรับผิดชอบออนไลน์ด้วย เช่น เสรีภาพในการพูดเป็นต้น
พลเมื่องดิจิตอลที่มีคุณภาพจะต้องรู้กฎหมายคอมพิวเตอร์และการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์
รู้จักคุณค่าและจริยธรรมและต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ทำ ต้องให้เกียรติผู้อื่นและมีมารยาท
ไม่สนับสนุนหรือกระทำการรังแกกันบนโลกไซเบอร์(Cyberbullying)ซึ่งนั่นรวมไปถึงการหลอกลวง การสร้างคำพูดเกลียดชัง(Hate Speech) และเนื้อหาสุ่มเสี่ยงและอนาจาร
มิติด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองและสังคม
:silhouettes: :
ต้องรู้จักใช้ศักยภาพของอินเทอร์เน็ต
ในการมีส่วนร่วมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
ใช้แสดงความรู้สึกต่างๆ เช่น แสดงความดีใจ เห็นอกเห็นใจ มีน้ำใจ เพื่อสานสัมพันธ์กับคนในโลกออนไลน์
เพิ่มการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบประชาธิปไตย
เช่น :pencil2:
ใช้อินเทอร์เน็ตในการรับฟังความเห็นของประชาชนก่อน
ออกกฎหมาย
การลงคะแนนเสียงอิเล็กทรอนิกส์ (e-Voting)
การยื่นคาร้องออนไลน์ (online petition)
การร่วมรณรงค์โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการกระตุ้นการมีส่วนร่วม
องค์กรรณรงค์ Change.org :pen:
บทสรุปพลเมืองดิจิทัลเพื่อพัฒนาสังคม💻
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีมีความรวดเร็วโดยเฉพาะ การสื่อสาร
ทำให้คนต้องปรับตัวให้ทัน ใช้ในทางที่เกิดประโยชน์ต่อตัวเองและสังคม
คนในปัจจุบันเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ ผ่านสื่อดิจิทัลได้รวดเร็วซึ่งทำให้เกิดปัญหา
ปัญหาจาก social media เช่น ก่อให้เกิดความรุนแรง สร้างความเกลียดชัง
เพราะฉะนั้น พลเมืองยุคใหม่ควรมีทักษะที่จำเป็นสำหรับข้อมูล ความรู้ สามารถวิเคราะห์ข้อมูล เหตุผล แสดงความคิดเห็นได้
จึงจะเป็นพลเมืองดิจิทัลคุณภาพ
พลเมืองดิจิทัลที่มีคุณภาพที่แท้จริง
ต้องใช้เป็น
เรียนรู้เร็ว สืบค้นข้อมูลที่มีประโยชน์ ทำงานให้มีประสิทธิภาพ
ใช้พัฒนาสังคม
ตระหนักถึงสังคมและสร้างจิตสำนึกการใช้ดิจิทัลและอินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์ต่อประเทศได้
ทักษะของพลเมืองดิจิทัล👨👩👧👦
การรู้เท่าทันสื่อ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
หลักการตั้งคำถามอย่างวิพากษ์
การรู้เท่าทันตนเอง
รู้ว่าควรเลือกข้อมูลข่าวสารให้เหมาะสมกับตนเอง
ความตระหนักในอิทธิพลของสื่อ
ความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบของสื่อ
8 ประการ
4. การรักษาความปลอดภัยในโลกออนไลน์
มีความสามารถดูแลความปลอดภัยของข้อมูลบนโลกไซเบอร์ได้
พลเมืองดิจิทัลควรปกป้องและรับมือกับการรังแกบนโลกออนไลน์อย่างชาญฉลาด
เช่น การสร้างรหัสเข้าใช้งานอย่างปลอดภัยและรับมือกับภัยคุกคามได้
1.อัตลักษณ์ของพลเมืองดิจิทัล
บริหารจัดการตัวตนทั้งบนออนไลน์และโลกแห่งความเป็นจริง
ควรมีความรู้เรื่องการสร้างอัตลักษณ์ที่ดีของตน ทั้งในออนไลน์ และชีวิตจริง
2.การจัดสรรเวลาหน้าจอ
รู้จักควบคุมตนเอง และสามารถแบ่งเวลาในการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.การรับมือกับการกลั่นแกล้ง
พลเมืองดิจิทัลควรปกป้องและรับมือกับการรังแกบนโลกออนไลน์อย่างชาญฉลาด
5. การรักษาข้อมูลส่วนตัว
เข้าใจเรื่องความเป็นส่วนตัวทั้งของตนเอง และผู้อื่น
เช่น การเเชร์ข้อมูลต่างๆ
6. การคิดเชิงวิพากษ์
รู้จัก คิด วิเคราะห์ เเยกแยะ
7. ร่องรอยบนโลกออนไลน์
ร่อยรอยที่ทิ้งไว้บนโลกดิจิทัล สามารถส่งผลกระทบกับชีวิตได้
8. ความเอาใจใส่ทางดิจิทัล
มีความเห็นอกเห็นใจ เอาใจเค้ามาใส่ใจเรา