Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเรื่องโภชนาการ, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา 6203400086, 2 -…
การดูแลเรื่องโภชนาการ
การเอาสายให้อาหารออก (removing nasogastric tube)
แจ้งผู้ป่วย อธิบายวัตถุประสงค์และวิธีการ
ล้างมือ
ตรวจสอบ ชื่อ-สกุล ของผู้ป่วย
ปิดประตูหรือกั้นม่าน
เตรียมกระดาษชำระ ถุงมือสะอาด ชามรูปไตไปที่ เตียงผู้ป่วย
แกะพลาสเตอร์ที่จมูกออกอย่างนุ่นนวล
สวมถุงมือ ใช้กระดาษชำระจับสายส่วนที่ใกล้จมูกพร้อมหักพับ สายจากนั้น ดึงออกอย่างนุ่มนวล
ทำความสะอาด ปากและ จมูก
นำเครื่องใช้ไปทำความสะอาด
การดูแลผู้ป่วยที่ใส่สายยางให้อาหาร
ไม่ให้อาหารในอัตราหยดที่เร็วเกิน เพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
ล้างสายยางให้อาหารด้วยน้ำอุ่นทุกครั้ง ภายหลังให้อาหาร และยา เพื่อป้องกันการอุดตันของสายยางให้อาหาร
ตรวจสอบว่าอาหารไม่บูดเสีย อาหารที่ให้ต้องหมดภายใน 8 ชั่วโมง อุปกรณ์สำหรับให้อาหารต้องสะอาด
ตรวจสอบตำแหน่งปลายสายยางให้อาหาร และปริมาณอาหารที่เหลือค้างในกระเพาะอาหารก่อนการให้อาหารทุกครั้ง
ให้อาหารที่มีอุณหภูมิใกล้เคียงอุณหภูมิห้อง เพื่อป้องกันการหดเกร็งของกล้ามเนื้อในช่องท้อง จากอาหารที่เย็นเกิน
ประเมินสภาพผิวหนัง และปิดทับพลาสเตอร์ไม่ให้ดึงรั้ง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับบริเวณจมูก
ดูแลความสุขสบาย
ประเมินปริมาณอาหารเหลือค้างในกระเพาะอาหาร
การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อนจากการให้อาหารทางสาย
การป้องกันการอุดตันของสายให้อาหาร
การปนเปื้อนของแบคทีเรีย bacterial contamination
การหลุดลอกของเยื่อบุหลอดอาหาร กระเพาะอาหารและหลอดอาหารทะล
การอักเสบของหูชั้นกลาง otitis media
การสำลักเข้าทางเดินหายใจ aspiration
ข้อระมัดระวังขณะใช้ยา
ผลแทรกซ้อนอื่นๆ
ชนิดของสายยางให้อาหาร
3) Gastrostomy tube
4) Nasoduodenal tube
2) Orogastric tube
5) Jejunostomy tube
1) Nasogastric tube
การล้างกระเพาะอาหาร (gastric lavage)
วัตถุประสงค์
เพื่อการวินิจฉัยเลือดออกในกระเพาะอาหารและการห้ามเลือด
เพื่อล้างกระเพาะอาหารสำหรับการตรวจโดยการส่องกล้อง
เพื่อขจัดสารหรือยาพิษที่ดื่มเข้าไป
อุปกรณ์
ชุดสวนล้างกระเพาะอาหารปลอดเชื้อ
น้ำยาที่ใช้ในการสวนล้าง
ถังน้ำหรือถุงสำหรับใส่สิ่งตกค้าง
หูฟัง (Stethoscope)
ผ้ากันเปื้อน
ถุงมือสะอาด
ข้อควรคำนึงในการล้างกระเพาะอาหาร
การล้างกระเพาะอาหารอาจมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้
หมั่นตรวจสอบสัญญาณชีพและอาการทั่วไปของผู้ป่วยตลอดเวลา
ในกรณีใช้เครื่องดูดเสมหะระบบสุญญากาศจะต้องพร้อมที่จะใช้ได้เสมอ
ขณะที่ทำการล้างกระเพาะอาหาร ถ้ามีเลือดออกต้องหยุดทำทันที
การใส่สายยางให้อาหาร (Nasogastric feeding)
วัตถุประสงค์ของการใส่สาย
3) เป็นทางเพิ่มแรงดันเข้าไปในระบบทางเดินอาหาร
4) เพื่อล้างกระเพาะอาหาร
2) เป็นการลดแรงดันในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
5) เพื่อดูดสิ่งที่ค้างอยู่ในกระเพาะอาหารออกมาตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือตรวจวินิจฉัยโรค
1) เพื่อเป็นทางให้อาหาร น้ำ หรือยากับผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้
อุปกรณ์ในการใส่สายให้อาหาร
สารหล่อลื่น K-Y jelly
ผ้าก็อส
กระบอกให้อาหาร (irrigating syringe)
ถุงมือสะอาด
1) สายยางให้อาหาร (NG tube)
กระดาษชำระ
ชามรูปไตพร้อมถุงขยะ
ผ้ารองกันเปื้อน
พลาสเตอร์ตัดเป็นรูปตัว Y
หูฟัง (stethoscope)
แก้วบรรจุนำพร้อมหลอดดูด
ไม้พันสำลีชุบน้ำสะอาด
การให้อาหารทางสายยาง
(Enteral feeding / Tube feeding)
อุปกรณ์การให้อาหารทางสายยาง
กระบอกให้อาหาร (Irrigate syringe)
น้ำอุ่นจำนวนตามแผนการรักษา หรือประมาณ 100 mL
เหยือกขนาด 500 ซีซี
สำลีชุบแอลกอฮอล์/สำลีชุบน้ำต้มสุก
ยา (ถ้ามี) บดให้ละเอียดแล้วละลายน้ำ
หูฟัง stethoscope
ชามรูปไต
ผ้ารองกันเปื้อน
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา 6203400086
2