Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย, นายสุรชัย สุทสนธ์ 60205283 - Coggle…
พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
Nisbet, 1969
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
การเปลี่ยนแปลงเป็นอยู่ตลอดเวลา
การเปลี่ยนแปลงเป็นการต่อเนื่อง
การเปลี่ยนแปลงเป็นแบบเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งจำเป็น
Alvin Toffler
คลื่นลูกที่ 1 สังคมเกษตรกรรม
คลื่นลูกที่ 2 สังคมอุตสาหกรรม
คลื่นลูกที่ 3 สังคมแห่งเทคโนโลยี
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
ปัจจัยทางประชากร (Population)
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical)
ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological)
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปราณี กุลละวณิชย์ (2531)
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
เช่น ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
กลไกที่ทำให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
การกลายเสียง
ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน (การแปรภาษา) อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (2545)
ปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายใน
ความสมมาตร (Symmetry)
ความประหยัด
ปัจจัยภายนอก
ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
การปฏิรูปการศึกษา สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ สมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411-2453)
ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
สาเหตุ
การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก
การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตก กับวัฒนธรรมภาษาดั้งเดิมของไทย
ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา
ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชนต่างๆ
ภาษาวิบัติ
ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธ์ของบุคคลและภาษาที่นำมาใช้สื่อสารแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมภาษาของแต่ละท้องถิ่น
ภาษาไทยในยุค 4.0
ต้องเป็นภาษาไทยที่มีการปรับตัว รับความคิดใหม่ๆ
พลวัตของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น
ปัจจัยภายใน
ธรรมชาติ
สังคม
วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
การเมือง
ปัจจัยภายนอก
การติดต่อระหว่างสังคมที่หลากหลาย
การกระทบกระทั่งระหว่างสังคม
กระบวนการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นเมือง
ความทันสมัย
ไปสู่ความเป็นอุตสาหกรรม
ระเบียบริหารแบบราชการชุมชน
กระแสสังคมโลก
การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยมักถือความถูกต้องเป็นหลัก และมุ่งหวังให้ทุกคนใช้ภาษาไทยที่งดงาม สละสลวยตามแบบแผน
ควรคำนึงถึงความเหมาะสมกับผู้ใช้และบริบท จึงจะเป็นการยุติธรรมแก่ผู้ใช้ภาษาไทยทุกคน
นายสุรชัย สุทสนธ์ 60205283