Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเรื่องโภชนาการ, นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา 6203400086, 1 -…
การดูแลเรื่องโภชนาการ
ชนิดของอาหารที่ใช้ในโรงพยาบาล
2) อาหารธรรมดาย่อยง่าย
อาหารธรรมดาแต่ย่อยง่าย ใช้ในผู้ป่วยพักฟื้น
3) อาหารอ่อน
ผู้ป่วยมีไข้ ติดเชื้อ มีอาการอักเสบ
1) อาหารธรรมดา
อาหารที่รับประทานกันอยู่ทั่วไป
4) อาหารเหลวหรืออาหารน้ำ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมง
5) อาหารที่ให้ทางสายให้อาหาร
6) อาหารเฉพาะโรค
ผู้ป่วยที่ควรได้รับสารอาหารโดยวิธีการให้ทางสายให้อาหาร
2) ผู้ป่วยที่มีปัญหาการกลืนและการดูดซึมสารอาหาร
3) ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวติดต่อกันเป็นเวลานานหรือเป็นอัมพาต
1) ผู้ป่วยที่ได้รับอาหารทางปากไม่เพียงพอต่อความต้องการร่างกาย
4) ผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจลำบาก
5) ผู้ป่วยที่ไอมาก ที่เสี่ยงต่อการสำลักอาเจียนได้ง่าย
คุณสมบัติของอาหารเหลว
2) มีสัดส่วนของพลังงานจากสารอาหารเหมาะสม
มีความเข้มข้นพอเหมาะ
1) มีสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย
4) สะอาดปลอดภัยจากเชื้อโรค
5) ความหนืดพอเหมาะ
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาความเกี่ยวกับความไม่สุขสบายในระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร (Anorexia)
สาเหตุ
1) พยาธิสภาพด้านร่างกาย
2) ความผิดปกติด้านจิตใจ อารมณ์
3) ผลของการรักษา
4) ผลจากการติดยาเสพติด สุรา บุหรี่เรื้อรัง
การดูแล
1) หาสาเหตุแล้วแก้ที่สาเหตุ
2) ลดความเบื่ออาหาร และกระตุ้นให้มีความอยากอาหาร
3) การดูแลด้านจิตใจ
4) การใช้ยากระตุ้นความอยากอาหาร
5) การดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
คลื่นไส้ (nausea)
อาเจียน (vomiting, emesis)
สาเหตุ
1) ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
2) การกระตุ้นทางเคมี
3) อารมณ์จิตใจอาจเกิดได้จากการกระทบกระเทือนทางอารมณ์
4) ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน
5) ความผิดปกติเกี่ยวกับการทรงตัว
การดูแล
1) การดูแลทันทีเมื่อเกิดอาการอาเจียน
2) สังเกต ลักษณะ อาการ เวลา จำนวน ลงบันทึกและรายงาน ให้แพทย์ทราบเพื่อหาแนวทางแก้ไข
3) การช่วยเหลือภายหลังอาเจียน
4) การป้องกันและแก้ไขการอาเจียน
5) กรณีที่ผู้ป่วยมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาจพิจารณาให้ยาต้านการอาเจียน
กลืนลำบาก (Dysphagia) กลืนไม่ได้ (Aphagia)
สาเหตุ
1) ภาวะกลืนลำบากจากหลอดอาหารผิดปกติ
ภาวะกลืนลำบากจากความผิดปกติบริเวณคอหอยส่วนบน
การดูแล
1) สังเกตและประเมินอาการ
3) ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา
2) ประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วยเป็นระยะๆ
4) ดูแลด้านความสะอาด
5) การเตรียมผู้ป่วยเพื่อการตรวจรักษา
6) แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อน รับประทานช้าๆ
7) ดูแลให้รับประทานอาหารในท่านั่ง และให้อยู่ในท่านั่งหรือศีรษะสูงหลังอาหาร
8) ดูแลให้อาหารทางสายยางสำหรับผู้ป่วยที่กลืนลำบากมาก
9) ดูแลด้านจิตใจ ช่วยให้ผู้ป่วยได้ปรับอารมณ์และจิตใจกับอาการของโรค
10) ประเมินภาวะแทรกซ้อนของปอด
ท้องอืด (Abdominal distension)
สาเหตุ
2) มีการสะสมของอุจจาระมาก
3) ตับ ม้ามโตผิดปกติ
1) มีการสะสมของอาหารหรือน้ำมาก
4) ปริมาณของช่องท้องลดลงจากความผิดปกติของกระดูกสันหลัง
มีแก๊สมากในกระเพาะอาหารหรือลำไส้
การดูแล
1) จัดท่านอน
2) แสดงความเข้าใจและให้กำลังใจ
พยายามหาสาเหตุและแก้ไขตามสาเหตุ กระตุ้นให้เคลื่อนไหวร่างกาย ใส่ rectal tube หรือการให้ยา
ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับอาหารผู้ป่วย
1) ปัจจัยภายนอก
2) ปัจจัยภายใน
3) ยาที่ใช้รักษาผู้ป่วย
4) แพทย์ที่ทำการรักษา
การเตรียมผู้ป่วยก่อนรับประทานอาหาร
1) ให้ผู้ป่วยได้ขับถ่าย
2) ทำความสะอาดปากฟัน ใบหน้า และมือ
3) จัดบรรยากาศรอบตัวผู้ป่วยให้ชวนรับประทาน
อาหารที่นำไปให้ผู้ป่วยควรจัดให้สวยงาม ชวนรับประทาน สะดวกและง่ายต่อการเคี้ยว
ชนิดของอาหารเหลวที่ให้ทางสายยาง
1) สูตรน้ำนม milk base formula จะมีน้ำนมและผลิตภัณฑ์จากนม
2) สูตรอาหารปั่นผสม blenderized formula (BD) เป็นสูตรอาหารที่นำอาหารแต่ละหมู่ มาปั่นผสมเข้ากัน
3) สูตรอาหารสำเร็จรูป commercial formula เป็นอาหารสำเร็จรูป มีสารอาหารใกล้เคียงกับร่างกายต้องการ
วิธีการให้อาหาร
2) การให้แบบหยดเป็นมื้อๆ
3) การให้ปริมาณมากในระยะเวลาสั้น
1) การให้แบบหยดต่อเนื่องตลอดเวลา
นางสาวดวงฤทัย ใจบุญ รหัสนักศึกษา 6203400086
1